ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พระคเณศ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: ถูกย้อนกลับแล้ว การแก้ไขแบบเห็นภาพ แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 1:
{{บทความคัดสรร}}
{{Infobox deity
|type=ฮินดู
|name=พระพิฆเนศ
|gender=บุรุษ
|father=[[พระศิวะ]]
|mother=[[พระปารวตี]]
|siblings=[[พระขันทกุมาร]] (พระเชษฐา)
[[ศาสฐา]] (พระอนุชา)
|deity_of={{ubl
|เทพเจ้าแห่งการเริ่มต้นใหม่, ความสำเร็จ และสติปัญญา
|พระผู้ขจัดอุปสรรค{{Sfn|Heras|1972|p=58}}{{Sfn|Getty|1936|p= 5}} }}
|image=Ganesha, Lord of Obstacles, Northeast India or Bangladesh, Pala dynasty, 1000s AD, gray schist - Portland Art Museum - Portland, Oregon - DSC08476.jpg
|caption= เทวรูปพระพิฆเนศ ศิลปะราชวงศ์ปาละ ศตวรรษที่ 10 จัดแสดงที่[[พิพิธภัณฑ์พอร์ทแลนด์]] [[รัฐโอเรกอน]] [[สหรัฐ]]
|alt=เทวรูปพระคเณศเศียรช้าง ผิววรกายสีชมพู ประทับนอนบนหมอนอิง
|Devanagari={{lang|sa|गणेशः}}
|Sanskrit_transliteration=Gaṇeśa
|affiliation=[[เทพเจ้าฮินดู|เทพ]], [[พระพรหม]] ([[คณปัตยะ]]), [[สคุณพรหมัน]] ([[ปัญจยาตนบูชา]]), [[พระอิศวร]]
|mantra= <!---------------------------------------- !!!! กรุณาอย่าแก้การทับศัพท์บทสวดมนต์ในภาษาไทย เนื่องจากมีหลายรูปแบบที่แพร่หลาย ในที่นี้ให้ยึดตาม[[การทับศัพท์ภาษาฮินดี|การทับศัพท์ภาษาสันสกฤต]] ของราชบัณฑิตยสภาเท่านั้น หากแก้ไข ให้แก้ไขไปตามหลักการทับศัพท์ที่ได้ระบุไว้ข้าวต้น ไม่ใช่ใส่บทสวดแบบของไทยแทน -----------------------------------------------------------------------> โอม ศรี คเณศายะ นะมะห์<br>โอม คัง คณปัตเย นะมะห์<br>(Oṃ Shri Gaṇeśāya Namaḥ<br>Oṃ Gaṃ Gaṇapataye Namaḥ)
|abode=[[เขาไกรลาศ]] (เคียงพระศิวะและพระปารวตี), คเนศโลก
|weapon=[[ปรศุ|ปรศุ (ขวาน)]], [[ปาศ (ศาสนาฮินดู)|ปาศ (บาศ)]], [[ประตักช้าง|อัณกุศ (ประตักช้าง)]]
|consort={{ubl
| [[พระพุทธิ|พุทธิ]] (ปัญญา)
| [[พระฤทธิ|ฤทธิ]] (ความเจริญ)
| [[พระสิทธิ|สิทธิ]] (ความสำเร็จ) }}
|mount=[[หนู]]
|symbols=[[โอม]], [[ขนมโมทกะ]]
|festivals=[[คเนศจตุรถี]]
|texts=''[[คเนศปุราณะ]]'', ''[[มุทคลปุราณะ]]'', ''[[คณปติอัฐรวศีรษะ]]''}}
{{ใช้ปีคศ|265px}}
 
'''พระคเณศ''' ({{lang-sa|गणेश}} {{lang-ta|பிள்ளையார்}} {{lang-en|Ganesha}}) ชาวไทยนิยมเรียกว่า '''พระพิฆเนศ'''<ref>ราชบัณฑิตยสถาน, ''พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554 เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว'', กรุงเทพพฯ : ราชบัณฑิตยสถาน, 2556, หน้า 834</ref> (विघ्नेश) พระนามอื่นที่พบ เช่น '''พระพิฆเณศวร''' '''พระพิฆเณศวร์''' หรือ '''คณปติ''' เป็น[[เทวดาในศาสนาฮินดู]]ที่ได้รับการเคารพบูชาอย่างแพร่หลายที่สุดพระองค์หนึ่ง<ref>Rao, p. 1.</ref> พบรูปแพร่หลายทั้งใน[[ประเทศอินเดีย]], [[เนปาล]], [[ศรีลังกา]], [[ฟิจิ]], [[ประเทศไทย|ไทย]], [[บาหลี]], [[บังคลาเทศ]]<ref>
* Brown, p. 1. "มักเป็นที่พูดถึงว่าพระคเณศทรงเป็นเทพที่มีการบูชากันมากที่สุดในประเทศอินเดีย" ("{{IAST|Gaṇeśa}} is often said to be the most worshipped god in India.")
* Getty, p. 1. "พระคเณศ จ้าวแห่งคณะ ถึงแม้จะเป็นหนึ่งในเทพองค์หลัง ๆ ที่เข้าสู่เทวาลัยของพราหมณ์ แต่ก็ยังเป็นเทพเจ้าที่มีผู้นับถือกันทั่วไปมากที่สุดในบรรดาเทพฮินดูทั้งปวง และรูปเคารพของพระองค์นั้นก็พบได้แทบจะทุกส่วนของประเทศอินเดีย" ("{{IAST|Gaṇeśa}}, Lord of the {{IAST|Gaṇas}}, although among the latest deities to be admitted to the Brahmanic pantheon, was, and still is, the most universally adored of all the Hindu gods and his image is found in practically every part of India.")</ref> [[นิกายในศาสนาฮินดู]]ทุกนิกายล้วนเคารพบูชาพระคเณศ ไม่ได้จำกัดเฉพาะใน[[คาณปัตยะ]]เท่านั้น<ref>
* Rao, p. 1.
* Martin-Dubost, pp. 2–4.
* Brown, p. 1.</ref> และการบูชาพระคเณศยังพบใน[[พระพิฆเนศในศาสนาต่าง ๆ|พุทธและไชนะ]]อีกด้วย<ref>
* Chapter XVII, "The Travels Abroad", ใน: Nagar (1992), pp. 175–187. - สำหรับการศึกษาเกี่ยวกับการแพร่ขยายความเชื่อและความนิยมในพระคเณศนอกอินเดียในเชิงภูมิศาสตร์
* Getty, pp. 37–88, - สำหรับการพูดคุยเกี่ยวกับการแพร่ขยายความเชื่อในการบูชาพระคเณศไปยังเนปาล [[ซินเจียง]] ทิเบต พม่า สยาม อินโดจีน ชวา บาหลี บอร์เนียว จีน และญี่ปุ่น
* Martin-Dubost, pp. 311–320.
* Thapan, p. 13.
* Pal, p. x.</ref>
 
'''พระคเณศ''' ( ) ชาวไทยนิยมเรียกว่า '''พระพิฆเนศ''' (विघ्नेश) พระนามอื่นที่พบ เช่น '''พระพิฆเณศวร''' '''พระพิฆเณศวร์''' หรือ '''คณปติ''' เป็นที่ได้รับการเคารพบูชาอย่างแพร่หลายที่สุดพระองค์หนึ่ง พบรูป, , บังคลาเทศ ทุกนิกายล้วนเคารพบูชาพระคเณศ ไม่ได้จำกัดเฉพาะในเท่านั้น และการบูชาพระคเณศยังพบในพุทธและไชนะอีกด้วย
พระลักษณะที่โดดเด่นจากเทพองค์อื่น ๆ คือพระเศียรเป็น[[ช้าง]]<ref>Martin-Dubost, p. 2.</ref> เป็นที่เคารพกันโดยทั่วไปในฐานะของเทพเจ้าผู้ขจัดอุปสรรค<ref>ดูเรื่องฐานะของพระองค์ในการกำจัดอุปสรรคได้ในคณปติอุนิษัท บทที่ 12 อ้างถึงใน {{Harvnb|Saraswati|2004|p=80}}</ref>, องค์อุปถัมภ์แห่งศิลปวิทยาการ วิทยาศาสตร์ และศาสตร์ทั้งปวง และทรงเป็นเทพเจ้าแห่งความฉลาดเฉลียวและปัญญา<ref>{{Harvnb|Heras|1972|p=58}}</ref> ในฐานะที่พระองค์ยังทรงเป็นเทพเจ้าแห่งการเริ่มต้น ในบทสวดบูชาต่าง ๆ ก่อนเริ่มพิธีการหรือกิจกรรมใด ๆ ก็จะเปล่งพระนามพระองค์ก่อนเสมอ ๆ <ref name = "Vignesha">ประเด็นดังกล่าวนี้เป็นเรื่องที่ทราบกันทั่วไป ดังที่ปรากฏในชื่อหนังสือของคอร์ทไรธ์ (Courtright) ว่า "พระคเณศ: เทพแห่งอุปสรรค จ้าวแห่งการเริ่มต้น" ''(Ganesha: Lord of Obstacles, Lord of Beginnings)''.</ref>{{Sfn|Getty|1936|p= 5}}
 
พระลักษณะที่โดดเด่นจากเทพองค์อื่น ๆ คือพระเศียรเป็น[[ช้าง]]<ref>Martin-Dubost, p. 2.</ref> เป็นที่เคารพกันโดยทั่วไปในฐานะของเทพเจ้าผู้ขจัดอุปสรรค<ref>ดูเรื่องฐานะของพระองค์ในการกำจัดอุปสรรคได้ในคณปติอุนิษัท บทที่ 12 อ้างถึงใน {{Harvnb|Saraswati|2004|p=80}}</ref>, องค์อุปถัมภ์แห่งศิลปวิทยาการ วิทยาศาสตร์ และศาสตร์ทั้งปวง และทรงเป็นเทพเจ้าแห่งความฉลาดเฉลียวและปัญญา<ref>{{Harvnb|Heras|1972|p=58}}</ref> ในฐานะที่พระองค์ยังทรงเป็นเทพเจ้าแห่งการเริ่มต้น ในบทสวดบูชาต่าง ๆ ก่อนเริ่มพิธีการหรือกิจกรรมใด ๆ ก็จะเปล่งพระนามพระองค์ก่อนเสมอ ๆ <ref name = "Vignesha">ประเด็นดังกล่าวนี้เป็นเรื่องที่ทราบกันทั่วไป ดังที่ปรากฏในชื่อหนังสือของคอร์ทไรธ์ (Courtright) ว่า "พระคเณศ: เทพแห่งอุปสรรค จ้าวแห่งการเริ่มต้น" ''(Ganesha: Lord of Obstacles, Lord of Beginnings)''.</ref>{{Sfn|Getty|1936|p= 5}}
สันนิษฐานกันว่าพระคเณศน่าจะปรากฏขึ้นเป็นเทพเจ้าครั้งแรกในราวคริสต์ศตวรรษที่ 1<ref>{{Cite book|url=https://books.google.com/?id=oF-Hqih3pBAC&pg=PA6&dq=Ganesha+worship+began+century#v=onepage|title=Ganesh: Studies of an Asian God|last=Brown|first=Robert L.|date=1991|publisher=SUNY Press|isbn=978-0791406564|language=en}}</ref> ส่วนหลักฐานยืนยันว่ามีการบูชากันย้อนกลับไปเมื่อราวคริสต์ศตวรรษที่ 4–5 สมัย[[อาณาจักรคุปตะ]] ถึงแม้พระลักษณะจะพัฒนามาจากเทพเจ้าในพระเวทและยุคก่อนพระเวท<ref>Narain, A.K. "{{IAST|Gaṇeśa}}: The Idea and the Icon" อ้างถึงใน {{Harvnb|Brown|1991|p=27}}</ref> เทพปกรณัมฮินดูระบุว่าพระคเณศทรงเป็นพระบุตรของ[[พระศิวะ]]และ[[พระปารวตี]] พระองค์พบบูชากันอย่างแพร่หลายในทุกนิกายและวัฒนธรรมท้องถิ่นของศาสนาฮินดู<ref>{{cite book|author=Gavin D. Flood|title=An Introduction to Hinduism|url=https://books.google.com/books?id=KpIWhKnYmF0C |year=1996|publisher=Cambridge University Press|isbn=978-0521438780|pages=14–18, 110–113}}</ref><ref>{{cite book|author=Vasudha Narayanan|title=Hinduism|url=https://books.google.com/books?id=E0Mm6S1XFYAC |year=2009|publisher=The Rosen Publishing Group|isbn=978-1435856202|pages=30–31}}</ref> พระคเณศทรงเป็นเทพเจ้าสูงสุดในนิกาย[[คาณปัตยะ]]<ref>สำหรับประวัติศาสตร์วิวัฒนาการความเชื่อของคาณปัตยะ และความเกี่ยวพันกับการขยายตัวของลัทธิบูชาพระคเณศในมุมกว้างทางภูมิศาสตร์ ดูเพิ่มที่: Chapter 6, "The {{IAST|Gāṇapatyas}}" ใน Thapan (1997), pp. 176–213.</ref> คัมภีร์หลักของพระคเณศเช่น [[คเณศปุราณะ]], [[มุทคลปุราณะ]] และ [[คณปติอรรถวศีรษะ]] นอกจากนี้ยังมีสารานุกรมเชิงปุราณะอีกสองเล่มที่กล่าวเกี่ยวกับพระคเณศ คือ [[พรหมปุราณะ]] และ [[พรหมันทปุราณะ]]
 
สันนิษฐานกันว่าพระคเณศน่าจะปรากฏขึ้นเป็นเทพเจ้าครั้งแรกในราวคริสต์ศตวรรษที่ 1<ref>{{Cite book|url=https://books.google.com/?id=oF-Hqih3pBAC&pg=PA6&dq=Ganesha+worship+began+century#v=onepage|title=Ganesh: Studies of an Asian God|last=Brown|first=Robert L.|date=1991|publisher=SUNY Press|isbn=978-0791406564|language=en}}</ref> ส่วนหลักฐานยืนยันว่ามีการบูชากันย้อนกลับไปเมื่อราวคริสต์ศตวรรษที่ 4–5 สมัย[[อาณาจักรคุปตะ]] ถึงแม้พระลักษณะจะพัฒนามาจากเทพเจ้าในพระเวทและยุคก่อนพระเวท<ref>Narain, A.K. "{{IAST|Gaṇeśa}}: The Idea and the Icon" อ้างถึงใน {{Harvnb|Brown|1991|p=27}}</ref> เทพปกรณัมฮินดูระบุว่าพระคเณศทรงเป็นพระบุตรของ[[พระศิวะ]]และ[[พระปารวตี]] พระองค์พบบูชากันอย่างแพร่หลายในทุกนิกายและวัฒนธรรมท้องถิ่นของศาสนาฮินดู<ref>{{cite book|author=Gavin D. Flood|title=An Introduction to Hinduism|url=https://books.google.com/books?id=KpIWhKnYmF0C |year=1996|publisher=Cambridge University Press|isbn=978-0521438780|pages=14–18, 110–113}}</ref><ref>{{cite book|author=Vasudha Narayanan|title=Hinduism|url=https://books.google.com/books?id=E0Mm6S1XFYAC |year=2009|publisher=The Rosen Publishing Group|isbn=978-1435856202|pages=30–31}}</ref> พระคเณศทรงเป็นเทพเจ้าสูงสุดในนิกาย[[คาณปัตยะ]]<ref>สำหรับประวัติศาสตร์วิวัฒนาการความเชื่อของคาณปัตยะ และความเกี่ยวพันกับการขยายตัวของลัทธิบูชาพระคเณศในมุมกว้างทางภูมิศาสตร์ ดูเพิ่มที่: Chapter 6, "The {{IAST|Gāṇapatyas}}" ใน Thapan (1997), pp. 176–213.</ref> คัมภีร์หลักของพระคเณศเช่น [[คเณศปุราณะ]], [[มุทคลปุราณะ]] และ [[คณปติอรรถวศีรษะ]] นอกจากนี้ยังมีสารานุกรมเชิงปุราณะอีกสองเล่มที่กล่าวเกี่ยวกับพระคเณศ คือ [[พรหมปุราณะ]] และ [[พรหมันทปุราณะ]]
 
นอกจากนั้นพระพิฆเนศ ยังเป็นที่เคารพนับถือของ ศาสตร์ในด้านศิลปิน และศิลปะต่างๆ สังเกตได้จากในพิธีต่างๆจะมีการอัญเชิญพระพิฆเนศ มาร่วมเป็นสิ่งศักดิ์สิทธิ์ ที่คอยประสิทธิ์ประศาสตร์พรให้กับผู้ร่วมพิธีอีกด้วย
เส้น 72 ⟶ 33:
 
รูปเคารพของพระคเณศเริ่มพบทั่วไปในหลายส่วนของ[[ประเทศอินเดีย]]ในศตวรรษที่ 6<ref>Brown, p. 175.</ref> รูปปั้นจากช่วงศตวรรษที่ 13 เป็นรูปแบบของรูปปั้นพระพิฆเนศที่สร้างในช่วงปี 900–1200 หลังจากที่พระพิฆเนศได้รับการยอมรับเป็นเทพเจ้าเอกเทศอย่างมั่นคงและมีนิกายของพระองค์ (คาณปตยะ) พระลักษณะที่พบในระยะนี้เริ่มเป็นลักษณะทางประติมานวิทยาที่พบทั่วไปของพระคเณศบางประการ และมีรูปปั้นที่ลักษณะคล้ายกันมากที่ปอล มาร์ติน-ดูบอสต์ (Paul Martin-Dubost) ประมาณอายุไว้ที่ราวปี 973–1200<ref>Martin-Dubost, p. 213. มุมขวาบนของหน้า</ref> นอกจากนี้ยังพบรูปปั้นคล้ายกันซึ่งประทปติยะ ปาล (Pratapaditya Pal) ระบุอายุว่ามาจากศตวรรษที่ 12<ref>Pal, p. vi. และรายละเอียดเพิ่มเติมเกี่ยวกับศตวรรษที่ 13 ดูที่: p. viii.</ref> พระคเณศทรงมีพระเศียรเป็นช้าง และทรงมีพระอุทร (ท้อง) โต ทรงมีสี่กร และทรงงาที่หักในหัตถ์ขวา อีกหัตถ์หนึ่งทรงชามขนม รูปแบบที่ซึ่งพระคเณศทรงหันงวงอย่างชัดเจนไปทางหัตถ์ซ้ายที่ทรงขนม เป็นพระลักษณะหนึ่งที่ถือว่าเก่าแก่พอควร<ref>Brown, p. 176.</ref> ส่วนรูปสลักที่เก่าแก่กว่านี้ที่พบใน[[ถ้ำเอลโลรา]]แห่งหนึ่งในลักษณะเดียวกันนี้วัดอายุได้ประมาณศตวรรษที่ 7<ref>ดูภาพถ่ายหมายเลข 2 ใน: Pal, p. 16.</ref> รายละเอียดของหัตถ์อีกข้างของพระองค์นั้นยากที่จะคาดคะเนได้ว่าทรงสิ่งใด ในรูปแบบมาตรฐานนั้น พระคเณศมักทรง[[Parashu|ขวานปราศุ]]หรือ[[Ankus|ประดักช้าง]]ในพระหัตถ์บน และทรง[[Pasha (Hinduism)|บ่วงบาศ]] ในอีกพระหัตถ์บนส่วนรูปที่พระองค์ทรงถือศีรษะมนุษย์นั้นพบน้อยมาก<ref>สำหรับปางที่ทรงศีรษะมนุษย์ ดูที่:
 
* ที่พบใน[[ประเทศกัมพูชา]] ดู Brown, p. 10
* ที่พบใน[[Nandrudayan Vinayaka Temple|นันทรุทยานวินายกมนเทียร]] ดู {{cite news|date=10 October 2003|title=Vinayaka in unique form|work=[[The Hindu]]|url=http://www.thehindu.com/fr/2003/10/10/stories/2003101001411200.htm|url-status=dead|accessdate=30 April 2015|work=[[The Hindu]]|date=10 October 2003|archive-date=2015-05-01|archive-url=https://archive.today/20150501000652/http://www.thehindu.com/fr/2003/10/10/stories/2003101001411200.htm|urlarchive-statusdate=dead2015-05-01}}
* ที่พบที่ [[Uthrapathiswaraswamy Temple]] ดู Catlin, Amy; "Vātāpi Gaṇapatim": Sculptural, Poetic, and Musical Texts in the Hymn to Gaṇeśa" ใน Brown pp. 146, 150</ref>