ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ธรณีกาล"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: ถูกย้อนกลับแล้ว การแก้ไขแบบเห็นภาพ แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: ถูกย้อนกลับแล้ว การแก้ไขแบบเห็นภาพ แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 323:
ตารางด้านล่างนี้ เป็นตารางสรุปเหตุการณ์สำคัญและลักษณะเฉพาะของช่วงของเวลาซึ่งประกอบขึ้นเป็นมาตรธรณีกาล ตารางนี้ถูกจัดเรียงโดยแสดงช่วงเวลาล่าสุดไว้ทางด้านบน และด้านล่างสุดคือช่วงเวลาที่เก่าแก่ที่สุด ความสูงของแต่ละรายการในตารางนั้นไม่สอดคล้องกับระยะของแต่ละการแบ่งย่อย
 
เนื้อหาของตารางนี้อ้างอิงกับมาตรธรณีการอย่างเป็นทางการปัจจุบันของ[[คณะกรรมาธิการการลำดับชั้นหินสากล]] (ICS)<ref name="ICS_chart">{{cite web|url=https://stratigraphy.org/chart |title=International Stratigraphic Chart |publisher=International Commission on Stratigraphy |archive-url=https://web.archive.org/web/20140530005940/http://www.stratigraphy.org/index.php/ics-chart-timescale |archive-date=30 May 2014 }}</ref> โดยมีการเปลี่ยนแปลงชื่อสมัยเป็นรูปแบบตอนต้น/ตอนปลายจากล่าง/บนซึ่งเป็นรูปแบบเดิม ตามการแนะนำของคณะกรรมาธิการการลำดับชั้นหินสากล เมื่อต้องใช้[[การลำดับชั้นหินตามอายุกาล]]<ref name="ICSchronostrat"/>
คณะกรรมาธิการการลำดับชั้นหินสากลยังมีบริการตารางธรณีกาลรูปแบบออนไลน์ด้วยผ่าน [https://stratigraphy.org/timescale/ ics-chart] โดยอ้างอิงมาจากบริการส่งมอบ [[Resource Description Framework]]/[[Web Ontology Language]] บนอุปกรณ์ที่อ่านได้ในการแสดงมาตรกาล ซึ่งพร้อมใช้งานผ่านบริการโปรเจกต์ [[GeoSciML]] ของ[[คณะกรรมาธิการการจัดการและประยุกต์ธรณีศาสตร์]] และ [[SPARQL]]<ref>{{cite web|url=http://resource.geosciml.org/sparql/isc2014 |archive-url=https://archive.today/20140806164132/http://resource.geosciml.org/sparql/isc2014 |url-status=dead |archive-date=2014-08-06 |access-date=2014-08-03 |title=SPARQL endpoint for CGI timescale service |first=Simon J. D.|last=Cox }}</ref><ref>{{cite journal|title=A geologic timescale ontology and service|first1=Simon J. D.|last1=Cox |first2=Stephen M.|last2=Richard|doi=10.1007/s12145-014-0170-6|volume=8|journal=Earth Science Informatics|pages=5–19|year=2014|s2cid=42345393}}</ref>
 
ตารางนี้ไม่เป็นไปตามมาตราส่วน โดยแม้ว่า[[บรมยุคฟาเนอโรโซอิก]]จะดูแล้วมีขนาดใหญ่กว่าบรมยุคที่เหลือ แต่กินเวลาเพียง 500 ล้านปีเท่านั้น ขณะที่สามบรมยุคก่อนหน้า (หรืออภิมหาบรมยุคพรีแคมเบรียน) กินเวลารวมกันกว่า 3.5 พันล้านปี ลักษณะเช่นนี้ เนื่องมาจากการขาดข้อมูลเกี่ยวกับเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในสามบรมยุคแรก (หรืออภิมหาบรมยุค) เมื่อเทียบกับบรมยุคปัจจุบัน (บรมยุคฟาเนอโรโซอิก]){{citation needed|date=July 2021}} ส่วนสมัย[[แอนโทรโปซีน]]นั้นยังไม่ถูกรวมอยู่ในตารางนี้
 
{| class="wikitable collapsible" style="clear:both;margin:0; font-size:95%"
บรรทัด 338:
!หินสมัย<br>/สมัย
!หินช่วงอายุ<br>/ช่วงอายุ
!เริ่มต้น<br>(ล้านปีที่แล้ว)
!เหตุการณ์สำคัญ
!เริ่มต้น<br>(ล้านปีที่แล้ว){{efn|name="uncertain-dates"|การกำหนดอายุมีความไม่แน่นอนโดยมีความแตกต่างกันเล็กน้อยระหว่างแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ซึ่งส่วนใหญ่เกิดจากความไม่แน่นอนใน[[การหาอายุสมบูรณ์]]และปัญหาการทับถมที่เหมาะสมสำหรับการหาอายุสมบูรณ์นั้น ไม่ค่อยเกิดขึ้นตรงตำแหน่งในแถวทางธรณีวิทยาที่จะเป็นประโยชน์มากที่สุด อายุและความคลาดเคลื่อนข้างต้นนั้นเป็นไปตามมาตรกาลของ[[คณะกรรมาธิการการลำดับชั้นหินสากล]]ปี 2015 ยกเว้นบรมยุคเฮเดียน ในกรณีที่ไม่มีการกำหนดความคลาดเคลื่อน หมายถึงว่า ความคลาดเคลื่อนนั้นจะน้อยกว่าความแม่นยำของอายุที่กำหนด<br /><br /><nowiki>*</nowiki> ระบุขอบเขตตามที่[[จุดและแหล่งชั้นหินแบบฉบับขอบทั่วโลก]]ได้รับการยมอรับในระดับสากล}}
|-
| rowspan="102" style="background:{{period color|Phanerozoic}}" |[[บรมยุคฟาเนอโรโซอิก|ฟาเนอโรโซอิก]]<br>(Phanerozoic)
เส้น 346 ⟶ 345:
| rowspan="3" style="background:{{period color|Holocene}}" |[[สมัยโฮโลซีน|โฮโลซีน]]<br>(Holocene)
| style="background:#fcf0f2" |[[ช่วงอายุเมฆาลายัน|เมฆาลายัน]]<br>(Meghalayan)
| [[เหตุการณ์ 4.2 พันปี]], [[ชาวออสโตรนีเซีย|การขยายดินแดนของชาวออสโตรนีเซีย]] (ไปยัง[[เกาะมาดากัสการ์]]และ[[หมู่เกาะโอเชียเนียห่างไกล]]), การเพิ่มขึ้นของ[[คาร์บอนไดออกไซด์ในชั้นบรรยากาศโลก|คาร์บอนไดออกไซด์]]จาก[[การปฏิวัติอุตสาหกรรม|อุตสาหกรรม]]
| style="background:#fcf0f2" | 0.0042*
|-
| style="background:#fcf0e8" |[[ช่วงอายุนอร์ทกริปเปียน|นอร์ทกริปเปียน]]<br>(Northgrippian)
| [[เหตุการณ์ 8.2 พันปี]], [[ภูมิอากาศเหมาะสมที่สุดโฮโลซีน]], [[ระดับน้ำทะเล]]สูงขึ้นท่วม[[ด็อกเกอร์แลนด์]]และ[[ซุนดาแลนด์]], การแปรสภาพเป็นทะเลทรายของพื้นที่[[ทะเลทรายสะฮารา|สะฮารา]]และอาหรับ, จุดสิ้นสุดของยุคหินและจุดเริ่มต้นของยุค[[ประวัติศาสตร์ที่มีการบันทึก]], มนุษย์ขยายดินแดนไปยัง[[กลุ่มเกาะอาร์กติกแคนาดา|กลุ่มเกาะอาร์กติก]]และ[[กรีนแลนด์]]
| style="background:#fcf0e8" | 0.0082*
|-
| style="background:#fcf0de" |[[ช่วงอายุกรีนแลนด์เดียน|กรีนแลนด์เดียน]]<br>(Greenlandian)
| การเข้าสู่เสถียรภาพของภูมิอากาศ, [[ช่วงอายุย่อยธารน้ำแข็ง]]ปัจจุบันและ[[การสูญพันธุ์สมัยโฮโลซีน]]เริ่มต้นขึ้น, [[การปฏิวัติยุคหินใหม่|เริ่มต้นการทำเกษตรกรรม]], มนุษย์แพร่กระจายไปทั่ว[[ยุคสะฮาราชื้น|สะฮาราเปียก]]และ[[คาบสมุทรอาหรับ]] [[เหนือไกล (รัสเซีย)|ตอนเหนือสุด]] และทวีปอเมริกา (แผ่นดินใหญ่และ[[แคริบเบียน]])
| style="background:#fcf0de" |<sup><big>0.0117*</big></sup>
|-
| rowspan="4" style="background:{{period color|Pleistocene}}" |[[สมัยไพลสโตซีน|ไพลสโตซีน]]<br>(Pleistocene)
| style="background:{{period color|Upper Pleistocene}}" |[[ช่วงอายุไพลสโตซีนตอนปลาย|บน/ตอนปลาย<br>(''ทารันเทียน'')]]<br>(Upper/Late (''Tarantian''))
| [[ช่วงคั่นช่วงอายุย่อยธารน้ำแข็ง]][[อีเมียน]], [[ยุคน้ำแข็งครั้งล่าสุด]], จุดสิ้นสุดของ[[ยังเกอร์ดรายแอส]], [[ทฤษฎีมหันตภัยโตบา|การปะทุของภูเขาไฟโตบา]], [[การสูญพันธุ์ยุคควอเทอร์นารี|การสูญพันธุ์ของมหาสัตวชาติในสมัยไพลสโตซีน (รวมถึงนกเทอร์เรอร์เบิร์ดพวกสุดท้าย)]], มนุษย์ขยายดินแดนเข้าสู่[[โอเชียเนียใกล้]]และ[[ทวีปอเมริกา]]
| style="background:{{period color|upper Pleistocene}}" |{{Period start|Late pleistocene}}
|-
| style="background:{{period color|Middle Pleistocene}}" |[[ช่วงอายุชิบาเนียน|ชิบาเนียน]]<br>(Chibanian)
| เกิด[[การเปลี่ยนผ่านไพลสโตซีนกลาง]], [[ยุคธารน้ำแข็ง|วัฏจักรน้ำแข็ง]][[ปัญหา 100,000 ปี|หนึ่งแสนปี]]มีแอมพลิจูดสูง, กำเนิดมนุษย์[[มนุษย์|โฮโมเซเปียนส์]]
| style="background:{{period color|Middle Pleistocene}}" |{{Period start|middle pleistocene}}
|-
| style="background:{{period color|Calabrian}}" |[[ช่วงอายุคาลาเบรียน|คาลาเบรียน]]<br>(Calabrian)
| ภูมิอากาศเย็นลงต่อไป, [[วงศ์โฟรุสราซีเด|นกเทอร์เรอร์]]ยักษ์สูญพันธุ์, การแพร่กระจายของมนุษย์[[Homo erectus|โฮโมอิเร็กตัส]]ทั่ว[[ทวีปแอฟโฟร-ยูเรเชีย]]
| style="background:{{period color|Calabrian}}" |{{Period start|calabrian}}<sup>*</sup>
|-
| style="background:{{period color|Gelasian}}" |[[ช่วงอายุเจลาเซียน|เจลาเซียน]]<br>(Gelasian)
| จุดเริ่มต้นของ[[ยุคน้ำแข็งยุคควอเทอร์นารี]]และภูมิอากาศไม่เสถียร<ref>C. Hoag, J-C. Svenning
African environmental change from the Pleistocene to the Anthropocene Annu. Rev. Environ. Resour., 42 (2017), pp. 27-54, https://doi.org/10.1146/annurev-environ-102016-060653</ref>, กำเนิด[[มหาสัตวชาติสมัยไพลสโตซีน]]และมนุษย์[[โฮโมแฮบิลิส]]
| style="background:{{period color|Gelasian}}" |{{Period start|gelasian}}<sup>*</sup>
|-
เส้น 378 ⟶ 369:
| rowspan="2" style="background:{{period color|Pliocene}}" |[[สมัยไพลโอซีน|ไพลโอซีน]]<br>(Pliocene)
| style="background:{{period color|Piacenzian}}" |[[ช่วงอายุปีอาเซนเซียน|ปีอาเซนเซียน]]<br>(Piacenzian)
| การพัฒนาขึ้นของ[[พืดน้ำแข็งกรีนแลนด์]]<ref>{{cite journal |doi=10.1016/j.epsl.2005.06.020 |title=Final closure of Panama and the onset of northern hemisphere glaciation |journal=Earth and Planetary Science Letters |volume=237 |issue=1–2 |pages=33–44 |year=2005 |last1=Bartoli |first1=G |last2=Sarnthein |first2=M |last3=Weinelt |first3=M |last4=Erlenkeuser |first4=H |last5=Garbe-Schönberg |first5=D |last6=Lea |first6=D.W |bibcode=2005E&PSL.237...33B |doi-access=free }}</ref> ขณะที่ความหนาวเย็นค่อย ๆ ทวีความรุนแรงขึ้นจนถึงสมัยไพลสโตซีน, [[ออกซิเจน]]และ[[คาร์บอนไดออกไซด์]]ในชั้นบรรยากาศถึงระดับปัจจุบันขณะที่มวลแผ่นดินเคลื่อนมาถึงยังตำแหน่งปัจจุบัน (เช่น [[คอคอดปานามา]]รวม[[ทวีปอเมริกาเหนือ]]และ[[ทวีปอเมริกาใต้|ใต้]]เข้าด้วยกัน ทำให้เกิดการ[[การแลกเปลี่ยนเกรทอเมริกา|การแลกเปลี่ยนสิ่งมีชีวิตของทั้งสองทวีป]]), เมทาเธอเรียไม่มีกระเป๋าหน้าท้องพวกสุดท้ายสูญพันธุ์, [[ออสตราโลพิเทคัส]]แพร่กระจายอยู่ทั่วด้านตะวันออกของทวีปแอฟริกา, เริ่มต้น[[ยุคหิน]]<ref name="auto">{{cite web | title=NOVA, Aliens from Earth: Who's who in human evolution | last=Tyson | first=Peter |date=October 2009 | publisher=PBS | access-date=2009-10-08 | url=https://www.pbs.org/wgbh/nova/hobbit/tree-nf.html}}</ref>
| style="background:{{period color|Piacenzian}}" |{{Period start|piacenzian}}<sup>*</sup>
|-
| style="background:{{period color|Zanclean}}" |[[ช่วงอายุซานเคลียน|ซานเคลียน]]<br>(Zanclean)
| [[น้ำท่วมซานเคลียน]]ใน[[บริเวณเมดิเตอร์เรเนียน]], การเย็นลงของภูมิอากาศต่อเนื่องมาจากสมัยไมโอซีน, [[สกุลม้า|สัตว์คล้ายม้า]]และ[[เอเลฟานติมอร์ฟา|คล้ายช้าง]]พวกแรก, วานร[[กาลานุกรมวิวัฒนาการมนุษย์#Ardipithecus|อาร์ดิพิเทคัส]]อาศัยอยู่ในทวีปแอฟริกา<ref name="auto"/>
| style="background:{{period color|Zanclean}}" |{{Period start|zanclean}}<sup>*</sup>
|-
| rowspan="6" style="background:{{period color|Miocene}}" |[[สมัยไมโอซีน|ไมโอซีน]]<br>(Miocene)
| style="background:{{period color|Messinian}}" |[[ช่วงอายุเมสซิเนียน|เมสซิเนียน]]<br>(Messinian)
| rowspan="2" | [[วิกฤตความเค็มช่วงอายุเมสซิเนียน|เหตุการณ์ช่วงอายุเมสซิเนียน]]พร้อมทะเลสาบเกลือใน[[บริเวณเมดิเตอร์เรเนียน]]อันว่างเปล่า, [[โลกเรือนกระจกและเรือนน้ำแข็ง|ภูมิอากาศแบบภาวะเรือนน้ำแข็งปานกลาง]]ซึ่งคั่นด้วยยุคน้ำแข็งและการก่อตัวขึ้นของ[[พืดน้ำแข็งแอนตาร์กติกตะวันออก]], [[อันดับคอริสตอเดรา|คอริสตอเดรา]] [[เซเบโคซูเคีย|สัตว์คล้ายจระเข้]]ที่ไม่ใช่จระเข้ และ[[ครีโอดอนต์]]สูญพันธุ์, หลังจากการแยกออกจากกันอย่างช้า ๆ ของ[[บรรพบุรุษร่วมท้ายสุดของมนุษย์และชิมแปนซี|บรรพบุรุษร่วมของมนุษย์และชิมแปนซี]] วานร[[ซาเฮลันโทรปัส]]และ[[ออร์โรริน]]อาศัยอยู่ในทวีปแอฟริกา
| style="background:{{period color|Messinian}}" |{{Period start|messinian}}<sup>*</sup>
|-
เส้น 394 ⟶ 381:
|-
| style="background:{{period color|Serravallian}}" |[[ช่วงอายุเซอร์ร่าวาเลียน|เซอร์ร่าวาเลียน]]<br>(Serravallian)
| rowspan="2" | ช่วงที่มีอากาศอบอุ่นขึ้นในภูมิอากาศที่เหมาะสมที่สุดในสมัยอีโอซีนกลาง<ref>https://digitalcommons.bryant.edu/cgi/viewcontent.cgi?article=1010&context=honors_science {{Bare URL inline|date=October 2021}}</ref>, การสูญพันธุ์ใน[[การหยุดชะงักสมัยไมโอซีนกลาง]], ความหลากหลายของสายพันธุ์ฉลามลดลง, [[ฮิปโปโปเตมัส|ฮิปโป]]พวกแรก, บรรพบุรุษของ[[วงศ์ลิงใหญ่|ลิงใหญ่]]
| style="background:{{period color|Serravallian}}" |{{Period start|serravallian}}<sup>*</sup>
|-
เส้น 401 ⟶ 387:
|-
| style="background:{{period color|Burdigalian}}" |[[ช่วงอายุเบอร์ดิกาเลียน|เบอร์ดิกาเลียน]]<br>(Burdigalian)
| rowspan="2" | [[การก่อเทือกเขา]]ใน[[ซีกโลกเหนือ]], การเริ่มต้นของ[[การก่อเทือกเขาไคเคารา]]ซึ่งให้กำเนิด[[เทือกเขาเซาท์เทิร์นแอลป์|เทือกเขาเซาท์เทิร์นแอลป์ประเทศนิวซีแลนด์]], การแพร่กระจายของผืนป่า[[การสังเคราะห์ด้วยแสง|ดึงเอา]]คาร์บอนไดออกไซด์จำนวนมหาศาลมาใช้ จนกระทั่งทำให้ระดับของคาร์บอนไดออกไซด์ในชั้นบรรยากาศลดลงจาก 650 ppmv เหลือประมาณ 100 ppmv ในระหว่างสมัยไมโอซีน<ref name="Royer">{{cite journal |last1=Royer |title={{CO2}}-forced climate thresholds during the Phanerozoic |journal=Geochimica et Cosmochimica Acta |volume=70 |pages=5665–75 |year=2006 |url=http://droyer.web.wesleyan.edu/PhanCO2%28GCA%29.pdf |doi=10.1016/j.gca.2005.11.031 |first1=Dana L. |issue=23 |bibcode=2006GeCoA..70.5665R |access-date=6 August 2015 |archive-url=https://web.archive.org/web/20190927033455/http://droyer.web.wesleyan.edu/PhanCO2%28GCA%29.pdf |archive-date=27 September 2019 |url-status=dead }}</ref>{{efn|name="atmospheric-carbon-dioxide"|สำหรับข้อมูลเพิ่มเติมในส่วนนี้ ดูที่ [[บรรยากาศของโลก#การวิวัฒนาการของบรรยากาศโลก]], [[คาร์บอนไดออกไซด์ในบรรยากาศโลก]] และ [[การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ]] ส่วนแผนภูมิเฉพาะสำหรับคาร์บอนไดออกไซด์ในช่วง ~550, 65, และ 5 ล้านปีที่ผ่านมาสามารถดูได้ที่ [[:File:Phanerozoic Carbon Dioxide.png]], [[:File:65 Myr Climate Change.png]], [[:File:Five Myr Climate Change.png]] ตามลำดับ}}, [[สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม]]และ[[สัตว์ปีก|นก]]ยุคใหม่มีรูปร่างดังปัจจุบัน, วาฬดึกดำบรรพ์พวกสุดท้ายสูญพันธุ์, [[หญ้า]]สามารถพบได้ทั่วไป, บรรพบุรุษของ[[เอป]] รวมถึง มนุษย์ อาศัยอยู่ในยุคนี้<ref>{{cite web | url=https://www.livescience.com/60093-last-common-ancestor-of-apes-humans-revealed.html | title=Here's What the Last Common Ancestor of Apes and Humans Looked Like| website=[[Live Science]]}}</ref>, ทวีปแอฟโฟร-อาหรับชนกับทวีปยูเรเซีย ทำให้[[เข็มขัดอัลพีด]]ก่อตัวขึ้นอย่างเต็มที่และทำให้มหาสมุทรเททิสหายไป แต่ช่วยให้มีการแลกเปลี่ยนทางสัตว์ชาติของทั้งสองทวีป, ในเวลาเดียวกัน ทวีปแอฟโฟร-อาหรับแยกออกเป็น[[ทวีปแอฟริกา]]และ[[แผ่นอาหรับ|เอเชียตะวันตก]]
| style="background:{{period color|Burdigalian}}" |{{Period start|burdigalian}}
|-
เส้น 410 ⟶ 395:
| rowspan="2" style="background:{{period color|Oligocene}}" |[[สมัยโอลิโกซีน|โอลิโกซีน]]<br>(Oligocene)
| style="background:{{period color|Chattian}}" |[[ช่วงอายุชาเชียน|ชาเชียน]]<br>(Chattian)
| rowspan="2" | [[เหตุการณ์สูญพันธุ์สมัยอีโอซีน–โอลิโกซีน]], จุดเริ่มต้นการแพร่กระจายของ[[ยุคน้ำแข็งมหายุคซีโนโซอิกตอนปลาย|ยุคน้ำแข็งแอนตาร์กติก]]<ref>{{Cite journal | doi=10.1038/nature01290|pmid = 12529638| title=Rapid Cenozoic glaciation of Antarctica induced by declining atmospheric CO2| journal=Nature| volume=421| issue=6920| pages=245–249| year=2003| last1=Deconto| first1=Robert M.| last2=Pollard| first2=David|bibcode = 2003Natur.421..245D|s2cid = 4326971}}</ref> [[วิวัฒนาการ]]และความหลากหลายของสัตวชาติเกิดขึ้นอย่างรวดเร็ว โดยเฉพาะอย่างยิ่ง [[สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม]] (เช่น [[มาโครพอดิฟอร์เมส|มาโครพอด]]และ[[วงศ์ใหญ่สัตว์ตีนครีบ|พวกแมวน้ำ]]), การวิวัฒนาการและการแพร่พันธุ์ครั้งใหญ่ของ[[พืชดอก]]ยุคใหม่, [[ชีโมเลสตา]] มีอาคอยด์ และคอนดีลาร์ทสูญพันธุ์, การปรากฏขึ้นของ[[อันดับฐานวาฬและโลมา|พวกวาฬและโลมา]]แรก (ที่เป็นสัตว์น้ำอย่างเต็มตัว)
| style="background:{{period color|Chattian}}" |{{Period start|chattian}}
|-
เส้น 418 ⟶ 402:
| rowspan="4" style="background:{{period color|Eocene}}" |[[สมัยอีโอซีน|อีโอซีน]]<br>(Eocene)
| style="background:{{period color|Priabonian}}" |[[ช่วงอายุไพรอาโบเนียน|ไพรอาโบเนียน]]<br>(Priabonian)
| rowspan="3" | [[โลกเรือนกระจกและเรือนน้ำแข็ง|ภูมิอากาศเย็นลงปานกลาง]], [[สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม]]ยุคโบราณ (เช่น [[ครีโอดอนตา]], [[มีอาคอยด์]], "[[คอนไดลาร์ท]]" ฯลฯ) มีอยู่มากมายและยังคงพัฒนาต่อไปในระหว่างสมัยนี้, วงศ์สัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนม "ยุคใหม่" หลายวงศ์ปรากฏขึ้น, [[อันดับฐานวาฬและโลมา|สายพันธุ์วาฬ]]โบราณและ[[อันดับพะยูน|พะยูน]]มีความหลากหลายหลังจากกลับลงไปในน้ำ, [[สัตว์ปีก|พันธุ์นก]]มีความหลากหลาย, [[เคลป์]] [[ไดโพรโตดอนเทีย]] [[หมี]] และ [[ซีเมียน]]พวกแรก, มัลติทูเบอร์คิวเลและเลปติกติดันสูญพันธุ์ในช่วงปลายของสมัย, การกลับมาของธารน้ำแข็งแอนตาร์กติกาและการก่อตัวของ[[ครอบน้ำแข็ง]], [[การก่อเทือกเขาลาราไมด์]]และ[[การก่อเทือกเขาเซเวียร์]]ของ[[เทือกเขาร็อกกี]]ในทวีปอเมริกาเหนือสิ้นสุดลง, [[การก่อเทือกเขา]]ของ[[เทือกเขาแอลป์]]ในทวีปยุโรปเริ่มต้นขึ้น, [[การก่อเทือกเขาเฮลเลนิก]]ในประเทศกรีซและ[[ทะเลอีเจียน]]เริ่มต้นขึ้น
| style="background:{{period color|Priabonian}}" |{{Period start|priabonian}}
|-
เส้น 428 ⟶ 411:
|-
| style="background:{{period color|Ypresian}}" |[[ช่วงอายุอิพรีเชียน|อิพรีเชียน]]<br>(Ypresian)
| เหตุการณ์ชั่วคราวสองเหตุการณ์ของภาวะโลกร้อน ([[อุณหภูมิสูงสุดสมัยพาลีโอซีน–อีโอซีน|PETM]] และ [[อุณหภูมิสูงสุดสมัยอีโอซีน 2|ETM-2]]) และภูมิอากาศอบอุ่นไปจนถึงช่วง[[สมัยอีโอซีน#ภูมิอากาศ|ภูมิอากาศที่เหมาะสมที่สุดสมัยอีโอซีน]], [[เหตุการณ์อาโซลลา]]ทำให้ระดับของคาร์บอนไดออกไซด์ลดลงจาก 3500 ppm เหลือ 650 ppm ซึ่งนับเป็นระยะเริ่มต้นของช่วงสภาพอากาศเย็นลงยาวนาน<ref name="Royer" />{{efn| name="atmospheric-carbon-dioxide"}}, [[อนุทวีปอินเดีย]]ชนเข้ากับทวีปเอเชียและการเริ่มต้นขึ้นของ[[ธรณีวิทยาของเทือกเขาหิมาลัย|การก่อเทือกเขาหิมาลัย]] (ทำให้เกิด[[การแลกเปลี่ยนทางชีวภาพ]]) ขณะที่ทวีปยูเรเซียแยกออกจากทวีปอเมริกาเหนืออย่างสมบูรณ์ ทำให้เกิด[[มหาสมุทรแอตแลนติก|มหาสมุทรแอตแลนติกเหนือ]], [[เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ภาคพื้นสมุทร]]เบนออกจากส่วนที่เหลือของทวีปยูเรเซีย, [[นกเกาะคอน]] [[สัตว์เคี้ยวเอื้อง]] [[อันดับนิ่ม|ตัวนิ่ม]] [[ค้างคาว]] และ [[อันดับวานร|ไพรเมท]]ที่แท้จริงอยู่ในสมัยนี้
| style="background:{{period color|Ypresian}}" |{{Period start|ypresian}}<sup>*</sup>
|-
| rowspan="3" style="background:{{period color|Paleocene}}" |[[สมัยพาลีโอซีน|พาลีโอซีน]]<br>(Paleocene)
| style="background:{{period color|Thanetian}}" |[[ช่วงอายุทาเนเชียน|ทาเนเชียน]]<br>(Thanetian)
| rowspan="3" | เริ่มต้นจาก[[หุบอุกกาบาตชิกชูลุบ|การชนของอุกกาบาตชิกชูลุบ]]และ[[เหตุการณ์การสูญพันธุ์ยุคครีเทเชียส–พาลีโอจีน]] ทำให้ไดโนเสาร์กลุ่มที่ไม่ใช่สัตว์ปีกและ[[เทอโรซอร์]] สัตว์ทะเลเลี้อยคลานส่วยใหญ่ สัตว์มีกระดูกสันหลังอื่นจำนวนมาก (เช่น เมทาเธอเรียลอเรเซีย) เซฟาโลพอด (มีเพียง[[หอยงวงช้าง]]และ[[หมึก (สัตว์)|หมึก]]ที่เหลือรอด) และสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังอื่นจำนวนมากสูญสิ้นไป, [[โลกเรือนกระจกและเรือนน้ำแข็ง|ภูมิอากาศแบบเขตร้อน]], มีการแพร่หลายของ[[สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม]]และ[[สัตว์ปีก|นก]]ไปเป็นวงศ์ต่าง ๆ เป็นจำนวนมากภายหลังจากการสูญพันธุ์ของไดโนเสาร์กลุ่มที่ไม่ใช่สัตว์ปีก (ขณะที่การวิวัฒนาการในทะเลหยุดลง), มัลติทูเบอร์คิวเลและ[[อันดับสัตว์ฟันแทะ|สัตว์ฟันแทะ]]พวกแรกแพร่กระจายไปทั่ว, นกขนาดใหญ่ (เช่น [[นกราไทท์]]และ[[นกทอร์เรอร์]]) และสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมขนาดใหญ่ (ใหญ่ขนาด[[หมี]]หรือเล็กขนาด[[ฮิปโปโปเตมัส]]) ปรากฏขึ้นครั้งแรก, [[การก่อเทือกเขาอัลไพน์]]ในทวีปยุโรปและทวีปเอเชียเริ่มต้นขึ้น, [[อันดับช้าง|พวกช้าง]]และ[[เพลเซียดาพิฟอร์เมส]] (บรรพบุรุษก่อกำเนิดไพรเมท) ปรากฏขึ้น, [[ออสตราลิเดลเฟีย|สัตว์มีกระเป๋าหน้าท้อง]]บางส่วนอพยพไปยังทวีปออสเตรเลีย
| style="background:{{period color|Thanetian}}" |{{Period start|thanetian}}<sup>*</sup>
|-
เส้น 446 ⟶ 427:
| rowspan="6" style="background:{{period color|Late Cretaceous}}" |[[สมัยครีเทเชียสตอนปลาย|บน/ตอนปลาย]]<br>(Upper/Late)
| style="background:{{period color|Maastrichtian}}" |[[ช่วงอายุมาสทริเชียน|มาสทริเชียน]]<br>(Maastrichtian)
| rowspan="12" | [[พืชดอก]]เพิ่มจำนวนขึ้นอย่างรวดเร็ว (หลังจากการพัฒนาลักษณะหลายประการตั้งแต่ยุคคาร์บอนิเฟอรัส) พร้อมกับ[[แมลง]]ชนิดใหม่ ขณะที่พืชดอกอื่น (พืชเมล็ดเปลือยและเฟิร๋นมีเมล็ด) เสื่อมลง, ปลา[[เทลีออส]]ยุคใหม่เริ่มต้นปรากฏมากขึ้น, [[แอมโมไนต์]] [[เบเลมโนอิเด]] [[รูดิสต์]][[ชั้นไบวาลเวีย|ไบวาลเวีย]] [[เม่นทะเล]] และ [[ฟองน้ำ]] พบได้ทั่วไป, [[ไดโนเสาร์]]ชนิดใหม่หลายชนิด (เช่น [[ไทแรนโนซอรัส]], [[ลิโทสโตรเชีย]], [[ฮาโดรซอร์ (วงศ์)|ฮาโดรซอร์]] และ [[เซราทอปซิเด]]) วิวัฒนาการขึ้นบนแผ่นดิน] ขณะที่[[อันดับจระเข้|จระเข้]]ปรากฏในน้ำและอาจเป็นเหตุให้เทมโนสปอนดีลส์พวกสุดท้ายสูญพันธุ์ไป และ[[โมซาซอร์]] และ[[ปลาฉลาม]]ยุคใหม่ปรากฏขึ้นในทะเล, การปฏิวัติที่เริ่มต้นโดยสัตว์เลี้อยคลานและฉลามในทะเลถึงจุดสูงสุด แม้ว่าอิกทีโอซอร์จะหายไปในไม่กี่ล้านปีหลังจากถูกลดขนาดลงอย่างมากจาก[[เหตุการณ์ขอบเขตช่วงอายุทูโรเนียน-ซีโนมาเนียน|เหตุการณ์โบนาเรลลี]], นกมีหยักซี่ฟันและไร้หยักซี่ฟันปรากฏขึ้นพร้อมกันกับ[[เทอโรซอร์]], สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมพวก[[โมโนทรีม]] [[เมทาเธอเรีย]] (ประกอบด้วย [[ชั้นฐานสัตว์มีกระเป๋าหน้าท้อง|มาร์ซูเพียล]] ซึ่งอพยพไปยังทวีปอเมริกาใต้) และ [[ยูทีเรีย]] (ประกอบด้วย [[พลาเซนตาเลีย]] [[เลปติกตีดา]] และ [[ชีโมเลสตา]]) ปรากฏขึ้นขณะที่ไซโนดอนต์พวกสุกท้ายที่ไม่ใช่สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมสูญพันธุ์ไป, ปูบกพวกแรก, หอยทากจำนวนมากขึ้นมาอยู่บนบก, การแตกออกของ[[มหาทวีปกอนด์วานา]]ทำให้เกิด[[ทวีปอเมริกาใต้]] [[ทวีปแอฟโฟร-อาหรับ]] [[ทวีปแอนตาร์กติกา]] [[โอเชียเนีย]] [[เกาะมาดากัสการ์]] [[อนุทวีปอินเดีย|อินเดียใหญ่]] และเกิด[[มหาสมุทรแอตแลนติก|มหาสมุทรแอตแลนติกใต้]] [[มหาสมุทรอินเดีย]] และ [[มหาสมุทรใต้|มหาสมุทรแอนตาร์กติก]] และเกิดหมู่เกาะต่าง ๆ ขึ้นในมหาสมุทรอินเดีย (และบางส่วนของมหาสมุทรแอตแลนติก) ขึ้น, [[การก่อเทือกเขาลาราไมด์]]และ[[การก่อเทือกเขาเซเวียร์]]ของ[[เทือกเขาร็อกกี]]เริ่มต้นขึ้น, คาร์บอนไดออกไซด์ใน[[บรรยากาศของโลก]]มีระดับใกล้เคียงกับปัจจุบัน, [[อะครีทาร์ช]]หายไป, ภูมิอากาศเริ่มอุ่นขึ้นแต่เย็นลงในภายหลัง
| style="background:{{period color|Maastrichtian}}" |{{Period start|maastrichtian}} ±&nbsp;0.2<sup>*</sup>
|-
เส้น 486 ⟶ 466:
| rowspan="3" style="background:{{period color|Late Jurassic}}" |[[สมัยจูแรสซิกตอนปลาย|บน/ตอนปลาย]]<br>(Upper/Late)
| style="background:{{period color|Tithonian}}" |[[ช่วงอายุทิโทเนียน|ทิโทเนียน]]<br>(Tithonian)
| rowspan="11" | ภูมิอากาศแบบชื้นกลับมาอีกครั้ง, [[พืชเมล็ดเปลือย]] (โดยเฉพาะ [[พิโนฟิตา|โคนิเฟอร์]], [[เบนเนททีเทลส์]] และ[[พืชพวกปรง]]) และ[[เฟิร์น]]แพร่หลายโดยทั่วไป, [[ไดโนเสาร์]]หลายชนิด เช่น [[ซอโรพอด]] [[คาร์โนซอเรีย]] และ[[สเตโกซอเรีย]]กลายเป็นสัตว์มีกระดูกสันหลังที่ครองพื้นที่บนแผ่นดิน, สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมมีการหลากหลายของพันธุ์ไปเป็นพวก[[วงศ์ชัวเตรีเด|ชัวเตรีเด]] [[ออสตราโลสฟีนีดา]] [[ยูทรีโคโนดอนต์]] [[มันติทูเบอร์คูเลต]] [[ซิมเมโทรดอนต์]] [[ดรายเลสทิเด]] และ [[ไทรโบสฟีนิดา]] แต่ยังคงมีขนาดเล็ก, นก [[อันดับกิ้งก่าและงู|กิ้งก่า]] งู และ[[เต่า]]ปรากฏขึ้นครั้งแรก, [[สาหร่ายสีน้ำตาล]] [[ปลากระเบน]] [[กุ้งฝอย]] [[ปู]] และ [[ล็อบสเตอร์]]พวกแรก, [[อิคทีโอซอร์]]และ[[เพลสิโอซอร์]]มีการแตกไปเป็นสายพันธุ์ต่าง ๆ, ไรนโคเซฟาเลียแพร่ไปทั่วโลก, [[ชั้นไบวาลเวีย|ไบวาลเวีย]] [[แอมโมไนต์]] และ [[เบเลมไนต์]]มีอยู่อยากมากมายมหาศาล, [[เม่นทะเล]]พบได้ทั่วไปอย่างมาก พร้อมกับ[[ไครนอยด์]] ดาวทะเล [[ฟองน้ำ]] และ[[เทราบราทิวไลดา]] และ[[แบรคิโอพอด]][[รินคอเนลลิดา]], การแตกออกของ[[มหาทวีปแพนเจีย]]เป็น[[มหาทวีปกอนด์วานา]]และ[[มหาทวีปลอเรเชีย]] ซึ่งภายหลังมีการแตกออกอีกเป็นสองส่วนหลัก [[มหาสมุทรแปซิฟิก]]และ[[มหาสมุทรอาร์กติก]]ก่อตัวขึ้น, [[มหาสมุทรทีทิส]]ก่อตัวขึ้น, [[การก่อเทือกเขาเนวาดา]]ในทวีปอเมริกาเหนือ, [[การก่อเทือกเขารันกีตาตา]]และ[[การก่อเทือกเขาซิมเมอเรียน]]มีกิจกรรมน้อยลง, ระดับของคาร์บอนไดออกไซด์ในชั้นบรรยากาศมีมากเป็น 3–4 เท่าของระดับปัจจุบัน (1200–1500 ppmv เทียบกับปัจจุบันที่ 400 ppmv<ref name="Royer" />{{efn|name="atmospheric-carbon-dioxide"}}), [[โครโคดีโลมอร์ฟา]]หาช่องทางในการใช้ชีวิตในน้ำ, [[ช่วงก่อเทือกเขาทะเลมหายุคมีโซโซอิก]]ดำเนินต่อเนื่องมาจากสมัยไทรแอสซิกตอนปลาย, [[เทนตะคูไลต์]]หายไป
| style="background:{{period color|Tithonian}}" |{{Period start|tithonian}} ±&nbsp;0.9
|-
เส้น 524 ⟶ 503:
| rowspan="3" style="background:{{period color|Late Triassic}}" |[[สมัยไทรแอสซิกตอนปลาย|บน/ตอนปลาย]]<br>(Upper/Late)
| style="background:{{period color|Rhaetian}}" |[[ช่วงอายุเรเทียน|เรเทียน]]<br>(Rhaetian)
| rowspan="7" | [[อาร์โคซอร์]]เป็น[[ไดโนเสาร์]]ครองแผ่นดินและ[[เทอโรซอร์]]ครองท้องฟ้า, ยังมี[[ไดโนเสาร์]]ที่เจริญมาจาก[[อาร์โคซอร์]]สองเท้า, [[อิคทีโอซอร์]]และ[[โนโทซอร์]]เป็นสัตวชาติที่ครองผืนสมุทร, [[ไซโนดอนต์]]เริ่มมีขนาดเล็กลงและคล้ายสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมมากขึ้นจนในที่สุดกลายเป็น[[สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม]]แท้พวกแรก ขณะที่สัตว์เลี้อยคลานคล้ายสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมอื่น ๆ ที่เหลือสูญพันธุ์ไป, [[ไรนโคซอร์]]มีอยู่อย่างทั่วไป, [[เฟิร์นเมล็ด]]ที่เรียกว่า [[ดิโครเดียม]] ยังคงมีอยู่ทั่วไปในมหาทวีปกอนด์วานา ก่อนจะถูกแทนที่ด้วยพืชเมล็ดเปลือยชั้นสูง, [[เทมโนสปอนไดล์]]ทะเลสะเทินน้ำสะเทินบกขนาดใหญ่มีอยู่มากมาย, [[แอมโมไนต์|เซราไทติกแอมโมนอยด์]]มีอยู่ทั่วไปเป็นอย่างมาก, [[สเคลแรคทิเนีย|ปะการังยุคใหม่]]และปลา[[เทลีออส]]รวมถึงบรรพบุรุษของ[[แมลง]]ยุคใหม่มากมายได้ปรากฏขึ้น, [[เทือกเขาแอนดีส#การก่อเทือกเขา|การก่อเทือกเขาแอนดีส]]ในทวีปอเมริกาใต้เริ่มต้นขึ้น, [[การก่อเทือกเขาซิมเมอเรียน]]ในทวีปเอเชียเริ่มต้นขึ้น, [[การก่อเทือกเขารันกีตาตา]]ในประเทศนิวซีแลนด์เริ่มต้นขึ้น, [[การก่อเทือกเขาฮันเตอร์-โบเวน]]ใน[[ออสเตรเลียเหนือ]] ควีนส์แลนด์ และ[[รัฐนิวเซาท์เวลส์]]สิ้นสุดลง (ประมาณ 260–225 ล้านปีก่อน), [[คราวฝนตกชุกช่วงอายุคาร์เนียน]]เกิดขึ้นประมาณ 234-232 ล้านปีก่อน ช่วยให้ไดโนเสาร์และ[[เลพิโดซอร์]]แพร่กระจาย, [[เหตุการณ์การสูญพันธุ์ยุคไทรแอสซิก–ยุคจูแรสซิก]]เกิดขึ้นเมื่อ 201 ล้านปีก่อน ทำให้[[โคโนดอนต์]]และ[[โพรโคโลโฟนีเด]]พวกสุดท้าย สัตว์เลี้อยคลานทะเลหลายชนิด (เช่น ซอโรปเทอรีเจียนทั้งหมดยกเว้น[[เพลสิโอซอร์]]และอิกทีโอซอร์ทั้งหมดยกเว้นพาร์วิเพลเวีย) โครโคโพดันทั้งหมดยกเว้นโครโคไดโลมอร์ฟ เทอร์โรซอร์ ไดโนเสาร์ แอมโมนอยด์ส่วนใหญ่ (รวมถึงเซราทิทิดาทั้งหมด) [[ชั้นไบวาลเวีย|ไบวาลเวีย]] แบรคิโอพอด ปะการัง และ ฟองน้ำสูญพันธุ์ไป, [[ไดอะตอม]]พวกแรก
| style="background:{{period color|Rhaetian}}" | ~{{Period start|rhaetian}}
|-
เส้น 551 ⟶ 529:
| rowspan="2" style="background:{{period color|Lopingian}}" |[[สมัยโลพินเจียน|โลพินเจียน]]<br>(Lopingian)
| style="background:{{period color|Changhsingian}}" |[[ช่วงอายุชางซิงเจียน|ชางซิงเจียน]]<br>(Changhsingian)
| rowspan="9" | [[มวลแผ่นดิน]]รวมเข้าด้วยกันเป็น[[มหาทวีป]][[มหาทวีปแพนเจีย|แพนเจีย]]และได้ก่อกำเนิด[[เทือกเขาแอปพาเลเชียน]] [[เทือกเขายูรัล|ยูรัล]] และ[[เทือกเขาอูชีตา|อูชีตา]]ขึ้นท่ามกลางเทือกเขาอื่น ๆ (มหาสมุทรยักษ์แพนทาลัสซาหรือมหาสมุทรแปซิฟิกดั้งเดิมก่อตัวขึ้น), ยุคน้ำแข็งเพอร์โม-คาร์บอนิเฟอรัสสิ้นสุดลง, ภูมิอากาศแบบร้อนและแห้ง, เป็นไปได้ว่าเกิดการลดระดับลงอย่างรวดเร็วของออกซิเจน, [[ซีแนปซิด]] (ประกอบด้วย [[เพไลโคซอร์]]และ[[เทอแรปซิด]]) มีอยู่เป็นจำนวนมาก ขณะที่[[พาราเรปทิเลีย]] [[เทมโนสปอนไดล์]][[สัตว์สะเทินน้ำสะเทินบก|สะเทินน้ำสะเทินบก]]ยังคงมีอยู่ทั่วไป, ในยุคเพอร์เมียนกลาง พฤกษชาตยุค[[ถ่านหิน]]ถูกแทนที่ด้วย[[พืชเมล็ดเปลือย]]มี[[โคนคอนิเฟอร์|โคน]] ([[พืชมีเมล็ด]]แท้กลุ่มแรก) และด้วย[[มอสส์]]แท้กลุ่มแรก, [[อันดับด้วง|ด้วง]]และ[[แมลงวัน]]วิวัฒนาการขึ้น, สัตว์ขาปล้องขนาดใหญ่มากและเตตระพอโดมอร์ฟาที่ไม่ใช่เตตระพอดสูญพันธุ์, สิ่งมีชีวิตใต้ทะเลเจริญงอกงามตามแนวปะการังน้ำตื้นที่อบอุ่น โดย[[พรอดักทิดา]]และแบรคิโอพอด[[สปิริเฟริดา]] ไบวาลเวีย [[ฟอรามินิเฟอรา]] และ[[ออร์โทเซริดา]]ทั้งหมดมีอยู่มากมาย, [[เซาเรีย]]เจริญขึ้นจากไดแอปซิดและแยกออกไปเป็นบรรพบุรุษของเลพิโดซอร์ คูเอนีโอซอร์ คอริสโตเดเรส อาร์โคซอร์ เทสตูดีนาทัน อิกคิโอซอรัส ทาลัตโตซอร์ และซอโรเทรีเจียน, ไซโนดอนต์วิวัฒนาการขึ้นจากเทอแรปซิดขนาดใหญ่, [[การสูญพันธุ์ออลสัน]] (273 ล้านปีก่อน) [[เหตุการณ์สูญพันธ์ครั้งใหญ่คาปิตาเนียน]] (260 ล้านปีก่อน) และ[[เหตุการณ์การสูญพันธุ์ยุคเพอร์เมียน–ไทรแอสซิก]] (252 ล้านปีก่อน) เกิดขึ้นต่อเนื่องกัน ทำให้สิ่งมีชีวิตบนโลกมากว่าร้อยละ 80 สูญพันธุ์ไปในที่สุด ประกอบด้วย แพลงก์ตอน[[เรตาเรีย]]ส่วนมาก ปะการัง ([[ทาบูลาตา]]และ[[รูโกซา]]สูญพันธ์ไปทั้งหมด) แบรคิโอพอด ไบรโอโซอัน แกสโทรพอด (โกเนียทิทิสสูญพันธุ์ไปทั้งหมด) แมลง พาราเรปไทล์ ไซแนปซิด แอมฟีเบียน และ ไครนอยด์ (มีเฉพาะ[[อาร์ติคูเลต (ไครนอยด์)|อาร์ติคูเลต]]ที่รอด) และ[[ยูริปเทอริด]] [[ไทรโลไบต์]] [[แกรพโตไลต์]] [[ไฮโอลิท]] [[เอดรีโอแอสเทอรอยด์]] [[บลัสตอยด์]] และ [[อาคันโทดี]]ทั้งหมด, [[การก่อเทือกเขาวาชิตา]]และ[[การก่อเทือกเขาอินนูอิเชียน]]ในทวีปอเมริกาเหนือ, [[การก่อเทือกเขายูเรเลียน]]ในทวีปยุโรปและทวีปเอเชีย]]ลดลง, การก่อเทือกเขา[[เทือกเขาอัลไต|อัลไต]]ในทวีปเอเชีย, [[การก่อเทือกเขาฮันเตอร์-โบเวน]]ใน[[ทวีปออสเตรเลีย]]เริ่มต้นขึ้น (ประมาณ 260–225 ล้านปีก่อน) ก่อกำเนิด[[เทือกเขาแม็กดอนเนล]]ขึ้น
| style="background:{{period color|Changhsingian}}" |{{Period start|changhsingian}} ±&nbsp;0.07<sup>*</sup>
|-
เส้น 583 ⟶ 560:
| rowspan="4" style="background:{{period color|Pennsylvanian}}" |[[กึ่งยุคเพนซิลเวเนียน|เพนซิลเวเนียน]]<br>(Pennsylvanian)
| style="background:{{period color|Gzhelian}}" |[[ช่วงอายุเจเลียน|เจเลียน]]<br>(Gzhelian)
| rowspan="4" | [[เทรีโกตา|แมลงมีปีก]]แพร่กระจายอย่างรวดเร็ว โดยบางชนิด (โดยเฉพาะอย่างยิ่ง [[เมกาไนซอปเทรา]] และ[[แพลีออดิกทีออปเทรา]]) โดยบางส่วนเช่น[[กิ้งก่า]]และ[[แมงป่อง]]มีขนาดค่อนข้างใหญ่, ป่าพืช[[ถ่านหิน]]พวกแรก ([[เลปิโดเดนดรอน|ไม้สเกล]], เฟิร์น, [[ซิกิลลาเรีย|ไม้คลับ]], [[คาลาไมต์|หางม้ายักษ์]], [[คอร์ไดท์]] ฯลฯ), ระดับ[[ออกซิเจน]]ใน[[บรรยากาศของโลก|ชั้นบรรยากาศโลก]]อยู่ในระดับสูงที่สุด, ยุคน้ำแข็งดำเนินต่อเนื่องไปจนถึงตอนต้นของยุคเพอร์เมียน, [[กอเนียไทต์]] แบรคิโอพอด ไบรโอซัว ไบวาลเวีย และปะการังมีอยู่อย่างแพร่หลายในทะเลและมหาสมุทร, [[วูดเลาส์]]พวกแรก, [[ฟอรามินิเฟอรา]]เทสเตตมีอยู่อย่างแพร่หลาย, ทวีปยูราเมริกาชนกับ[[มหาทวีปกอนด์วานา]]และไซบีเรีย-คาซัคสถาเนีย ซึ่งภายหลังก่อตัวเป็น[[มหาทวีปลอเรเชีย]]และเกิด[[การก่อเทือกเขายูเรเลียน]]ขึ้น, การก่อเทือกเขาวาริสแคนกำเนินต่อไป (การชนกันของทวีปต่าง ๆ นี้ก่อการก่อเทือกเขาขึ้นและในที่สุดแล้วจะกลายเป็น[[มหาทวีปแพนเจีย]]), [[สัตว์สะเทินน้ำสะเทินบก]] (เช่น เทมโนสปอนดิล) แพร่หลายในทวีปยูราเมริกา โดยบางส่วนกลายเป็น[[แอมนิโอต]]พวกแรก, เกิด[[การพังทลายของป่าฝนยุคคาร์บอนิเฟอรัส]]ทำให้สภาพอากาศแห้งแล้ง ซึ่งเอื้ออำนวยต่อแอมนิโอตมากกว่าสัตว์สะเทินน้ำสะเทินบก, แอมนิโอตขยายพันธุ์อย่างรวดเร็วไปเป็น[[ซีแนปซิด]] [[พาราเรปทีเลีย]] [[คอติโลซอร์]] [[โปรโตรอทรีดีเด]] และ [[ไดแอปซิด]], [[ไรโซดอนต์]]มีอยู่ทั่วไปก่อนที่จะสูญพันธุ์ไปในช่วงสิ้นสุดของยุค, [[ปลาฉลาม]]พวกแรก
| style="background:{{period color|Gzhelian}}" |{{Period start|gzhelian}} ±&nbsp;0.1
|-
เส้น 597 ⟶ 573:
| rowspan="3" style="background:{{period color|Mississippian}}" |[[กึ่งยุคมิสซิสซิปเปียน|มิสซิสซิปเปียน]]<br>(Mississippian)
| style="background:{{period color|Serpukhovian}}" |[[ช่วงอายุเซอร์ปูโคเวียน|เซอร์ปูโคเวียน]]<br>(Serpukhovian)
| rowspan="3" | [[ไฟลัมไลโคไฟตา|ต้นไม้โบราณ]]ขนาดใหญ่เจริญงอกงามและ[[ยูริปเทอริด]]สะเทินน้ำสะเทินบกอาศัยอยู่ท่ามกลางบริเวณชายฝั่ง[[น้ำกร่อย]]จากการก่อตัวของ[[ถ่านหิน]]และมีการแตกขยายสายพันธุ์อย่างสำคัญเป็นครั้งสุดท้าย, [[พืชเมล็ดเปลือย]]พวกแรก, แมลง[[เอ็นดอปเทริโกตา]] [[พารานีออปเทรา]] [[พอลินีออปเทรา]] [[ออโดเนทอปเทรา]] และ [[แมลงชีปะขาว|เอเฟเมรอปเทรา]]พวกแรก และ[[เพรียง]]พวกแรก, [[เทเทรอพอด]]สะเทินน้ำสะเทินบกห้านิ้วและ[[หอยทากบก]]พวกแรก, ในมหาสมุทร ปลา[[ชั้นปลากระดูกแข็ง|กระดูกแข็ง]]และ[[ปลากระดูกอ่อน|กระดูกอ่อน]]เป็นพวกหลักและมีการสายพันธุ์แพร่หลาย [[เอไคโนเดอร์มาตา]] (โดยเฉพาะอย่างยิ่ง[[ไครนอยด์]]และ[[แบลสตอยด์]]) มีอยู่มากมาย, [[ปะการัง]] [[ไบรโอซัว]] [[กอเนียไทต์]] และแบรคิโอพอด ([[พรอดักทิดา]] และ [[สปิริเฟอริดา]] ฯลฯ) ฟื้นตัวและเริ่มมีอยู่ทั่วไปอีกครั้ง แต่[[ไทรโลไบต์]]และ[[นอติลอยด์]]เริ่มจำนวนลดลง, [[ยุคน้ำแข็งคารู|การเปลี่ยนสภาพโดยธารน้ำแข็ง]]ในฝั่งตะวันออกของ[[มหาทวีปกอนด์วานา]]ต่อเนื่องมาจากสมัยดีโวเนียนตอนปลาย, [[การก่อเทือกเขาตูฮูอา|การก่อเทือกเขาตูฮูอา]]ในประเทศนิวซีแลนด์ลดลง, ปลาที่มีครีบเป็นพู่ชื่อไรโซดอนต์เริ่มมีจำนวนมากและเป็นพวกหลักในน้ำจืด, [[ทวีปไซบีเรีย]]ชนกับทวีป[[คาซัคสถาเนีย]]ที่มีขนาดเล็ก
| style="background:{{period color|Serpukhovian}}" |{{Period start|serpukhovian}} ±&nbsp;0.2
|-
เส้น 609 ⟶ 584:
| rowspan="2" style="background:{{period color|Late Devonian}}" |[[สมัยดีโวเนียนตอนปลาย|บน/ตอนปลาย]]<br>(Upper/Late)
| style="background:{{period color|Famennian}}" |[[ช่วงอายุฟาเมนเนียน|ฟาเมนเนียน]]<br>(Famennian)
| rowspan="7" | [[ไลโคโพดิโอปซิดา|ต้นสามร้อยยอด]] [[เฟิร์น]] [[พืชมีเมล็ด]] ([[เฟิร์นเมล็ด]]จาก[[โพรจิมโนสเปิร์ม]]ก่อนหน้า) ต้นไม้ต้นแรก (โพรจิมโนสเปิร์ม[[อาร์เคออปเทอริส]]) และ[[เทริโกตา|แมลงมีปีก]] (พาลีออปเทราและนีออปเทรา) พวกแรก, [[สโตรโฟเมนิดา]]และ[[แบรคิโอพอด]][[อาทรีปิด]] [[รูโกซา]] และ ปะการัง[[ทาบิวลาทา]] และ [[ไครนอยด์]]ทั้งหมดนั้นมีอยู่เต็มไปหมดในมหาสมุทร, เซฟาโลพอดตัวขด ([[แอมโมไนต์|แอมโมนอยด์]]และ[[นอติลิดา]]) พวกแรกโดยกลุ่มเดิมนั้นมีอยู่อย่างมากมาย (โดยเฉพาะอย่างยึ่งโกเนียทิทิส), ไทรโลไบต์และออสตราโคเดิร์มมีจำนวนลดลง ขณะที่ปลามีขากรรไกร ([[ปลามีเกราะ]], [[ปลาที่มีครีบเป็นพู่]] และ[[ชั้นปลากระดูกแข็ง|ปลากระดูกแข็ง]] และ[[ปลากระดูกอ่อน|ปลาฉลาม]]ยุคแรก) แพร่พันธุ์อย่างรวดเร็ว, ปลาที่มีครีบเป็นพู่เทเทรอพอโดมอร์ฟาเปลี่ยนไปเป็น[[สเตโกเซฟาเลีย|ฟิชาพอด]]ที่มีนิ้ว และค่อย ๆ กลายเป็นสัตว์สะเทินน้ำสะเทินบกอย่างช้า ๆ, อาร์ทิโอพอดที่ไม่ใช่ไทรโลไบต์พวกสุดท้ายสูญพันธุ์, [[เดคาพอด]] (เช่น [[กุ้งใหญ่]]) และ[[ไอโซพอด]]กลุ่มแรก, ความกดดันจากปลามีขากรรไกรทำให้ยูริปเทอริดลดจำนวนลงและ[[หมึก (สัตว์)|เซฟาโลพอดบางชนิด]]สูญเสียเปลือกของตนไป ขณะที่อะโนมาโลคาริดสูญหายไป, "ทวีปแดงเก่า" ของยูราเมริกายังคงปรากฏอยู่หลังจากการก่อเทือกเขาแคลิโดเนีย, [[การก่อเทือกเขาอะเคเดียน]]ของ[[เทือกเขาแอตลาส|เทือกเขาแอนไทแอตลาส]]ของแอฟริกาเหนือ และ[[เทือกเขาแอปพาเลเชียน]]ของอเมริกาเหนือเริ่มต้นขึ้น นอกจากนี้ยังมี[[การก่อเทือกเขาแอนท์เลอร์]] [[การก่อเทือกเขาวาริสแคน]] และ [[เกาะเมเยอร์ / ตูฮูอา|การก่อเทือกเขาตูฮูอา]]ในประเทศนิวซีแลนด์ด้วย, ชุดของเหตุการณ์สูญพันธุ์ ประกอบด้วย [[การสูญพันธุ์สมัยดีโวเนียนตอนปลาย#เหตุการณ์เคลวัสเซอร์|เหตุการณ์เคลวัสเซอร์]] และ [[เหตุการณ์ฮันเกนเบิร์ก]] ทำให้แอคริทาก ปะการัง ฟองน้ำ มอลลัสกา ไทรโลไบต์ ยูริปเทอริด กราฟโตไลต์ แบรคิโอพอด ไครโนซัว (เช่น พวก[[คริสตอยด์]]ทั้งหมด) และ ปลา รวมไปถึงพลาโคเดิร์มและออสตราโคเดิร์มสูญพันธุ์ไปเป็นจำนวนมาก
| style="background:{{period color|Famennian}}" |{{Period start|famennian}} ±&nbsp;1.6<sup>*</sup>
|-
เส้น 634 ⟶ 608:
| rowspan="8" style="background:{{period color|Silurian}}" |[[ยุคไซลูเรียน|ไซลูเรียน]]<br>(Silurian)
| colspan="2" style="background:{{period color|Pridoli}}" |[[สมัยพริโดลี|พริโดลี]]<br>(Pridoli)
| rowspan="8" | [[ชั้นโอโซน]]หนาขึ้น, [[พืชมีท่อลำเลียง]]พวกแรกปรากฏขึ้นและสัตว์ขาปล้อง ได้แก่ [[ไฟลัมย่อยตะขาบ|ตะขาบ]] [[ไฟลัมย่อยแมลงหกขา|แมลงหกขา]] (ประกอบด้วย [[แมลง]]) และ [[แมง]]ขึ้นมาอยู่บนบกอย่างสมบูรณ์, [[ยูริปเทอริด]]ขยายสายพันธุ์อย่างรวดเร็วจนกระจายไปจนทั่วและมีจำนวนมาก, เซฟาโลพอดหรือพวกหมึกยังคงมีอยู่อย่างมากมาย, [[ปลามีขากรรไกร]]พร้อมกับ[[ออสตราโคเดิร์ม]]แท้แพร่ไปทั่วทั้งทะเล, ปะการัง[[ทาบูเลต]]และ[[รูโกซา]] [[แบรคิโอพอด]] (เพนตะเมริดา, [[รินโคเนลลิดา]] ฯลฯ) [[คริสตอยด์]] และ [[ไครนอยด์]]ทั้งหมดมีอยู่อย่างมากมาย, [[ไทรโลไบต์]]และ[[มอลลัสกา]]มีอยู่อย่างหลากหลายสายพันธุ์ ส่วน[[แกรพโตไลต์]]ไม่ค่อยหลากหลาย, เหตุการณ์การสูญพันธุ์ครั้งย่อยสามครั้ง, สัตว์พวกผิวหนามบางส่วนสูญพันธุ์, [[การก่อเทือกเขาแคลีโดเนีย]] (การชนกันระหว่างลอเรนเชียและบัลติกาและหนึ่งในแผ่นดินกอนด์วานาขนาดเล็ก) สำหรับเทือกเขาในประเทศอังกฤษ ไอร์แลนด์ เวลส์ สก็อตแลนด์ และ[[การก่อเทือกเขาอะเคเดียน|เทือกเขาแถบสแกนดิเนเวีย]]เริ่มต้นขึ้น, นอกจากนี้ยังมี[[การก่อเทือกเขาอะเคเดียน]]ด้านบนที่ต่อเนื่องเข้าสู่ยุคดีโวเนียน (และจึงก่อตัวเป็นทวีปยูราเมริกาขึ้น), [[การก่อเทือกเขาทาโคนิก]]ลดลง, [[ยุคน้ำแข็งแอนเดีย-สะฮารา|ยุคบ้านน้ำแข็ง]]สิ้นสุดลงในปลายยุคนี้หลังจากเริ่มต้นขึ้นในสมัยออร์โดวิเชียนตอนปลาย, [[แถบชั้นหินคดโค้งล็อกแลน|การก่อเทือกเขาล็อกแลน]]ใน[[ทวีปออสเตรเลีย]]ลดลง
| style="background:{{period color|Pridoli}}" |{{Period start|pridoli}} ±&nbsp;2.3<sup>*</sup>
|-
เส้น 664 ⟶ 637:
| rowspan="3" style="background:{{period color|Late Ordovician}}" |[[สมัยออร์โดวิเชียนตอนปลาย|บน/ตอนปลาย]]<br>(Upper/Late)
| style="background:{{period color|Hirnantian}}" |[[ช่วงอายุเฮอร์แนนเชียน|เฮอร์แนนเชียน]]<br>(Hirnantian)
| rowspan="7" | [[การแพร่กระจายยุคออร์โดวิเชียน|เหตุการณ์การแพร่กระจายทางชีวภาพครั้งใหญ่ยุคออร์โดวิเชียน]]เกิดขึ้นโดยเป็นการเพิ่มจำนวนขึ้นของแพลงก์ตอน [[สัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง]]มีสายพันธุ์เกิดขึ้นจำนวนมาก (โดยเฉพาะอย่างยิ่งแบรคิโอพอด และ มอลัสกา เช่น สัตว์พวกหมึก[[ออร์โทโคน|เปลือกตรง]] เช่น พวก[[อันดับออร์โทเซริดา|ออร์โทเซริดา]]ที่มีอายุยืนยาวและมีสายพันธุ์หลายหลาย) [[แบรคิโอพอด]]ที่ต่อกัน (เช่น ''ออร์ทิดา'', ''สโตรโฟเมนิดา'' ฯลฯ) [[ชั้นไบวาลเวีย|ไบวาลเวีย]] [[ชั้นเซฟาโลพอด|เซฟาโลพอด]] (นอติลอยด์) [[ไทรโลไบต์]] [[ออสตราคอด]] [[ไบรโอซัว]] [[เอไคโนเดอร์มาตา]]หลายชนิด ([[แบลสตอยด์]] [[คริสตอยด์]] [[ไครนอยด์]] [[เม่นทะเล]] [[ปลิงทะเล]] และ [[แอสเทอโรซัว|สัตว์คล้ายดาว]] ฯลฯ) และลำดับขั้นอื่น ๆ ทั่วไป, [[อาคริทาร์ช]]ยังคงอยู่มีอยู่โดยทั่วไป, เซฟาโลพอดมีจำนวนมากขึ้นและมีอยู่โดยทั่วไป พร้อมทั้งมีแนวโน้มที่จะมีเปลือกแบบขด, อะโนมาโลคาริดสูญพันธุ์, [[เทนตะคูไลต์]]ปริศนาปรากฏขึ้น, ปลา[[ยูริปเทอริด]]และ[[ออสตราโคเดิร์ม]]ปรากฏขึ้น ซึ่งภายหลังมีความเป็นไปได้ที่จะพัฒนาไปเป็น[[ปลามีขากรรไกร]]ตอนสิ้นสุดยุค, [[เห็ดรา]]บกพวกแรกและการขึ้นมาอยู่บนบกของ[[พืช]]อย่างเต็มตัว, [[ยุคน้ำแข็งสมัยออร์โดวิเชียนตอนปลาย|ยุคน้ำแข็ง]]ตอนสิ้นสุดยุค รวมถึงชุดของ[[เหตุการณ์สูญพันธุ์ครั้งใหญ่สมัยออร์โดวิเชียนตอนปลาย|เหตุการณ์สูญพันธุ์ครั้งใหญ่]] ทำให้เซฟาโลพอดบางส่วนและแบรคิโอพอด ไบรโอซัว เอไคโนเดิร์ม แกรพโตไลต์ ไทรโลไบต์ ไบวาลเวีย ปะการัง และ [[โคโนดอนต์]]จำนวนมากตายไป
| style="background:{{period color|Hirnantian}}" |{{Period start|hirnantian}}&nbsp;±&nbsp;1.4<sup>*</sup>
|-
เส้น 690 ⟶ 662:
| rowspan="3" style="background:{{period color|Furongian}}" |[[สมัยฟูโรงเจียน|ฟูโรงเจียน]]<br>(Furongian)
| style="background:{{period color|Stage 10}}" |[[ช่วงอายุหินช่วงอายุแคมเบรียน 10|หินช่วงอายุ 10]]<br>(Stage 10)
| rowspan="10" | เกิดความหลากหลายของสิ่งมีชีวิตครั้งใหญ่ในเหตุการณ์[[การระเบิดยุคแคมเบรียน]]จากการเพิ่มขึ้นของระดับออกซิเจน, พบซากดึกดำบรรพ์จำนวนมาก โดย[[ไฟลัม]]ของ[[สัตว์]]ยุคใหม่ (ประกอบด้วย [[สัตว์ขาปล้อง]] [[มอลลัสกา]] [[สัตว์พวกหนอนปล้อง]] [[เอไคโนเดอร์มาตา]] [[เฮมิโนเดิร์ม]] และ [[คอร์เดต]]) ปรากฏขึ้น, [[อาร์คีโอไซทา]]คล้ายปะการังมีอยู่อย่างแพร่หลายและสาบสูญไปในเวลาต่อม โดยสโตรมาไลต์มาแทนที่ แต่ก็ตกเป็นเหยื่อใน[[ช่วงก่อเทือกเขาตั้งต้นยุคแคมเบรียน]] เมื่อสัตว์บางชนิดเริ่มขุดเจาะลงไปตามแผ่นจุลินทรีย์ (ส่งผลกับสัตว์อื่นบางชนิดด้วยเช่นกัน), [[อาร์ติโอพอด]] (ได้แก่ [[ไทรโลไบต์]]) หนอน[[ไพรอะพูลา]] [[แบรคิโอพอด]]แบบไม่ประกบกัน (เปลือกแบบไม่มีบานพับ) [[ไฮโอไลต์]] [[ไบรโอซัว]] [[แกรพโตไลต์]] เอไคโนเดิร์มห้าแฉก (เช่น [[แบลสโตซัว]] [[ไครโนซัว]] และ [[เอลูเทอโรซัว]]) และสัตว์อื่นมีอยู่เป็นจำนวนมาก, [[แอนอมาโลคารีดา]]เป็นสัตว์นักล่าขนาดใหญ่ ขณะที่[[การสูญพันธุ์ปลายยุคอีดีแอคารัน|สัตวชาติยุคอีดีแอคารันสูญพันธุ์ลงไป]], [[สัตว์พวกกุ้งกั้งปู]]และมอลลัสกาขยายจำนวนสายพันธุ์อย่างรวดเร็ว, [[โพรแคริโอต]] [[โพรทิสต์]] (เช่น [[ฟอรามินิเฟอรา]]) [[เห็ดรา]] และ [[สาหร่าย]]ยังคงปรากฏมาจนถึงทุกวันนี้, [[สัตว์มีแกนสันหลัง]]พวกแรกปรากฏตัวขึ้นจากพวกคอร์เดตก่อนหน้านี้, [[การก่อเทือกเขาปีเตอร์แมนน์]]ใน[[ทวีปออสเตรเลีย]]ลดลง (550–535 ล้านปีก่อน), การก่อเทือกเขารอสส์ในทวีปแอนตาร์กติกา, [[มหาบริเวณแอดิเลด|การก่อเทือกเขาเดลาเมเรียน]] (ประมาณ 514–490 ล้านปีก่อน) และ[[แถบชั้นหินคดโค้งล็อกแลน|การก่อเทือกเขาล็อกแลน]] (ประมาณ 540–440 ล้านปี) ใน[[ทวีปออสเตรเลีย]], ศิลาภูมิประเทศขนาดเล็กบางส่วนแตกออกจากมหาทวีปกอนด์วานา, ปริมาณคาร์บอนไดออกไซด์ใน[[บรรยากาศของโลก|ชั้นบรรยากาศ]]มีจำนวนเป็น 15 เท่าของปัจจุบัน ([[สมัยโฮโลซีน]]) (6000 ppmv เทียบกับปัจจุบันที่ 440 ppmv)<ref name="Royer" />{{efn|name="atmospheric-carbon-dioxide"}}, [[สัตว์ขาปล้อง]]และ[[พืชบก]]เริ่มยืดครองแผ่นดิน, เหตุการณ์สูญพันธุ์สามครั้งเกิดขึ้นเมื่อ 517 502 และ 488 ล้านปีก่อน โดย[[การสูญพันธุ์ครั้งใหญ่ปลายสมัยโบโตเมียน|ครั้งแรก]]และ[[เหตุการณ์สูญพันธุ์ยุคออร์โดวิเชียน–แคมเบรียน|ครั้งสุดท้าย]]ทำให้พวกอะโนมาโลคาริด สัตว์ขาปล้อง ไฮโอไลต์ แบรคิโอพอด มอลลัสกา และโคโนดอนต์ (สัตว์มีแกนสันหลังไร้ขากรรไกรยุคแรก) สูญพันธุ์ไปเป็นจำนวนมาก
| style="background:{{period color|Stage 10}}" | ~489.5
|-
เส้น 726 ⟶ 697:
| rowspan="3" style="background:{{period color|Neoproterozoic}}" |[[มหายุคนีโอโพรเทอโรโซอิก|นีโอโพรเทอโรโซอิก]]<br>(Neoproterozoic)
| style="background:{{period color|Ediacaran}}" |[[ยุคอีดีแอคารัน|อีดีแอคารัน]]<br>(Ediacaran)
| colspan="32" | [[ซากดึกดำบรรพ์]]ในสภาพดีของ[[สัตว์|สัตว์หลายเซลล์]]พวกแรก, [[ชีวชาติยุคอีดีแอคารัน]]อุดมสมบูรณ์ไปในทะเลทั่วโลก อาจปรากฏขึ้นภายหลัง[[การระเบิดอะวาลอน|การระเบิดของสายพันธุ์]]ซึ่งอาจเกิดจากเหตุการณ์ออกซิเดชันครั้งใหญ่<ref>Williams, J.J., Mills, B.J.W. & Lenton, T.M. A tectonically driven Ediacaran oxygenation event. Nat Commun 10, 2690 (2019). https://doi.org/10.1038/s41467-019-10286-x</ref>, [[ไฟลัมใหญ่เวนโดไบออนตา|เวนโดซัว]] (ไม่ทราบความใกล้เคียงในสัตว์) [[ไนดาเรีย]] และ [[ไบลาทีเรีย]]พวกแรก, พวกเวนโดซัวปริศนารวมถึงสิ่งมีชีวิตอ่อนนุ่มหลายชนิดที่มีลักษณะเป็นแผ่น กระเป๋า หรือ ฟูก (เช่น ''[[สกุลดิกคินโซเนีย|ดิกคินโซเนีย]]''), [[ซากดึกดำบรรพ์ร่องรอย]]ทั่วไปของสิ่งมีชีวิตคล้ายหนอน เช่น ''[[เทรปทิคนัส]]'' ฯลฯ, [[การก่อเทือกเขาทาโคนิก]]ในทวีปอเมริกาเหนือ, [[การก่อเทือกเขา]]ของ[[เทือกเขาอราวลี]]ใน[[อนุทวีปอินเดีย]], [[การก่อเทือกเขาแพน-แอฟริกา]]เริ่มต้นขึ้น นำไปสู่การก่อตัวของมหาทวีปแพนโนเชียในยุคอีดีแอคารันซึ่งเป็นมหาทวีปที่มีอายุสั้น โดยแตกตัวไปในช่วงปลายของยุคเป็น[[ทวีปลอเรนเชีย]] [[ทวีปบอลติก|บอลติกา]] [[ทวีปไซบีเรีย|ไซบีเรีย]] และ [[มหาทวีปกอนด์วานา|กอนด์วานา]], [[การก่อเทือกเขาปีเตอร์แมนน์]]ใน[[ทวีปออสเตรเลีย]], การก่อเทือกเขาเบียร์ดมอร์ในทวีปแอนตาร์กติกา (633–620 ล้านปีก่อน), [[ชั้นโอโซน]]ก่อตัวขึ้น, ระดับของ[[แร่]]ในมหาสมุทรเพิ่มขึ้น
| style="background:{{period color|Ediacaran}}" | ~{{Period start|ediacaran}}<sup>*</sup>
|-
| style="background:{{period color|Cryogenian}}" |[[ยุคไครโอเจเนียน|ไครโอเจเนียน]]<br>(Cryogenian)
| colspan="32" | อาจเกิดยุค "[[โลกบอลหิมะ]]" ขึ้น, [[ซากดึกดำบรรพ์]]ยังคงพบได้ยาก, มวลแผ่นดิน[[มหาทวีปโรดิเนีย|โรดิเนีย]]เริ่มแตกออก, การก่อเทือกเขารูเกอร์ตอนปลาย / นิมรอดในทวีปแอนตาร์กติกาลดลง, ซากดึกดำบรรพ์แรกของ[[ฟองน้ำ|สัตว์]]ที่ไม่มีข้อโต้แย้ง, สิ่งที่สงสัยว่าเป็นพวก[[อะมาสติโกไมโกตา|เห็ดราบก]]<ref name="Naranjo‐Ortiz-Gabaldon-2019">{{cite journal | last1=Naranjo‐Ortiz | first1=Miguel A. | last2=Gabaldón | first2=Toni | title=Fungal evolution: major ecological adaptations and evolutionary transitions | journal=[[Biological Reviews of the Cambridge Philosophical Society]] | publisher=[[Cambridge Philosophical Society]] ([[Wiley Publishing|Wiley]]) | volume=94 | issue=4 | date=2019-04-25 | issn=1464-7931 | doi=10.1111/brv.12510 | pages=1443–1476| pmid=31021528 | pmc=6850671 }}</ref> และ [[สเตรปโตไฟตา]]<ref>Zarsky, J. D., Zarsky, V., Hanacek, M., & Zarsky, V. (2021, July 21). Cryogenian glacial habitats as a plant terrestrialization cradle – the origin of the anydrophytes and Zygnematophyceae split. https://doi.org/10.3389/fpls.2021.735020</ref> แรก,
| style="background:{{period color|Cryogenian}}" | ~{{Period start|cryogenian}}<!--- -635 to -720 (-850 < 2015) mya - Cryogenian glaciation --->{{efn|name="absolute-age"|กำหนดโดย[[อายุสัมบูรณ์]] ([[อายุลำดับชั้นหินมาตรฐานโลก]])}}
|-
| style="background:{{period color|Tonian}}" |[[ยุคโทเนียน|โทเนียน]]<br>(Tonian)
| colspan="32" | [[มหาทวีปโรดิเนีย]]ยังคงปรากฏอยู่, [[การก่อเทือกเขาสวีโคนอร์วีเจียน]]สิ้นสุดลง, [[การก่อเทือกเขาเกรนวิลล์]]ในทวีปอเมริกาเหนือลดลง, การก่อเทือกเขารูเกอร์ตอนปลาย / นิมรอดในทวีปแอนตาร์กติกา (1,000 ± 150 ล้านปีก่อน), การก่อเทือกเขาเอ็ดมันเดียน (ประมาณ 920–850 ล้านปีก่อน) [[แกสคอยน์คอมเพล็กซ์]] เวสเทิร์นออสเตรเลีย, การทับถมกันของ[[มหาบริเวณแอดิเลด]]และ[[มหาบริเวณเซนทราเลียน]]เริ่มต้นขึ้นใน[[ทวีปออสเตรเลีย]], สิ่งที่สงสัยว่าเป็นพวก[[สัตว์]] (จากโฮโลซัว) และผืดสาหร่ายบกพวกแรก, เหตุการณ์เอนโดซืมไบโอติกหลายครั้งเกี่ยวกับสาหร่ายสีแดงและเขียวเกิดขึ้น มีการถ่ายโอนพลาสทิดไปยัง[[ไฟลัมออโครไฟตา|ออโครไฟตา]] (เช่น [[ไดอะตอม]] [[สาหร่ายสีน้ำตาล]]) [[ไดโนแฟลกเจลเลต]] [[คริปโตไฟซีเอ]] [[แฮปโตไฟต์]] และ [[ยูกลีนิด]] (เหตุการณ์อาจเริ่มต้นขึ้นในมหายุคมีโซโพรเทอโรโซอิก)<ref>Hwan Su Yoon, Jeremiah D. Hackett, Claudia Ciniglia, Gabriele Pinto, Debashish Bhattacharya, A Molecular Timeline for the Origin of Photosynthetic Eukaryotes, Molecular Biology and Evolution, Volume 21, Issue 5, May 2004, Pages 809–818, https://doi.org/10.1093/molbev/msh075</ref> ขณะที่[[ไฟลัมใหญ่รีทาเรีย|รีทาเรีย]]พวกแรก (เช่น [[ฟอรามินิเฟอรา]]) ยังคงปรากฏอยู่ พวกยูแคริโอต ได้แก่ สาหร่าย ยูแคริโอโวริก และ รูปแบบ[[สิ่งมีชีวิตผลิตแร่]]แพร่จำนวนสายพันธุ์อย่างรวดเร็ว, [[ซากดึกดำบรรพ์ร่องรอย]]ของ[[ยูแคริโอต]][[สิ่งมีชีวิตหลายเซลล์|หลายเซลล์]]อย่างง่าย
| style="background:{{period color|Tonian}}" |{{Period start|tonian}}{{efn|name="absolute-age"}}
|-
| rowspan="3" style="background:{{period color|Mesoproterozoic}}" |[[มหายุคมีโซโพรเทอโรโซอิก|มีโซโพรเทอโรโซอิก]]<br>(Mesoproterozoic)
| style="background:{{period color|Stenian}}" |[[ยุคสเทเนียน|สเทเนียน]]<br>(Stenian)
| colspan="32" | แถบ[[หินแปร]]ลดลงเป็นอย่างมากเนื่องจาก[[การก่อเทือกเขา]]ของ[[มหาทวีปโรดิเนีย]]ที่เริ่มต้นขึ้น ซึ่งถูกล้อมรอบโดย[[มหาสมุทรแพน-แอฟริกา]], [[การก่อเทือกเขาสวีโคนอร์วีเจียน]]เริ่มต้นขึ้น, การก่อเทือกเขารูเกอร์ตอนปลาย / นิมรอดในทวีปแอนตาร์กติกาอาจเริ่มต้นขึ้น, การก่อเทือกเขามัสเกรฟ (ประมาณ 1,080 ล้านปีก่อน) ใน[[บล็อกรอยเลื่อนมัสเกรฟ]] [[เซนทรัลออสเตรเลีย]], [[สโตรมาโตไลต์]]ลดลงเมื่อ[[สาหร่าย]]เพิ่มจำนวนขึ้นอย่างรวดเร็ว
| style="background:{{period color|Stenian}}" |{{Period start|stenian}}{{efn|name="absolute-age"}}
|-
| style="background:{{period color|Ectasian}}" |[[ยุคเอกเทเซียน|เอกเทเซียน]]<br>(Ectasian)
| colspan="32" | [[ลาน (ธรณีวิทยา)|สิ่งปกคลุมลาน]]ยังคงขยายไปอย่างต่อเนื่อง, [[กลุ่ม (ชีววิทยา)|กลุ่ม]][[สาหร่ายสีเขียว]]อยู่ในทะเล, [[การก่อเทือกเขาเกรนวิลล์]]ในทวีปอเมริกาเหนือ, มหาทวีปโคลัมเบียแตกออก
| style="background:{{period color|Ectasian}}" |{{Period start|ectasian}}{{efn|name="absolute-age"}}
|-
| style="background:{{period color|Calymmian}}" |[[ยุคคาลิมเมียน|คาลิมเมียน]]<br>(Calymmian)
| colspan="32" | [[ลาน (ธรณีวิทยา)|สิ่งปกคลุมลาน]]ขยายตัวออก, การก่อเทือกเขาบาร์รามันดีใน[[แอ่งแม็คอาเทอร์]] [[นอร์ทเทิร์นออสเตรเลีย]] และการก่อเทือกเขาอีซา (ประมาณ 1,600 ล้านปีก่อน) ในกลุ่มรอยเลื่อนเขาอีซา รัฐควีนส์แลนด์, [[อาร์คีพลาสติดา]] (ยูแคริโอตพวกแรกที่มี[[พลาสติด]]จากไซยาโนแบคทีเรีย เช่น [[สาหร่ายสีแดง]] และ [[สาหร่ายสีเขียว]]) และ [[โอพิสโธคอนตา]] (จะเจริญไปเป็น[[เห็ดรา]]และ[[โฮโลซัว]]พวกแรก) พวกแรก, [[อาคริทาร์ช]] (อาจเป็นสาหร่ายทะเลที่ยังคงหลงเหลือ) เริ่มปรากฏเป็นบันทึกซากดึกดำบรรพ์
| style="background:{{period color|Calymmian}}" |{{Period start|calymmian}}{{efn|name="absolute-age"}}
|-
| rowspan="4" style="background:{{period color|Paleoproterozoic}}" |[[มหายุคแพลีโอโพรเทอโรโซอิก|แพลีโอโพรเทอโรโซอิก]]<br>(Paleoproterozoic)
| style="background:{{period color|Statherian}}" |[[ยุคสตาทีเรียน|สตาทีเรียน]]<br>(Statherian)
| colspan="32" | [[ยูแคริโอต|สิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวซับซ้อน]]พวกแรก ได้แก่ [[โพรทิสต์]]ที่มีหลายนิวเคลียส และ ระบบเอนโดเมมเบรน, [[มหาทวีปโคลอมเบีย]]ก่อตัวขึ้นเป็นมหาทวีปแรกสุดอันดับที่สองที่ไม่มีข้อโต้แย้ง, การก่อเทือกเขาคิมบันในทวีปออสเตรเลียสิ้นสุดลง, มหาทวีปยาปุงกูใน[[หินฐานธรณียิลการ์น]]ในเวสเทิร์นออสเตรเลีย, การก่อเทือกเขาแมงการูนเมื่อ 1,680–1,620 ล้านปีก่อนใน[[แกสคอยน์คอมเพล็กซ์]] เวสเทิร์นออสเตรเลีย, การก่อเทือกเขาคารารัน (1,650 ล้านปีก่อน) ในหินฐานธรณีกอว์เลอร์ [[ออสเตรเลียใต้]], ระดับออกซิเจนลดลงอีกครั้ง
| style="background:{{period color|Statherian}}" |{{Period start|statherian}}{{efn|name="absolute-age"}}
|-
| style="background:{{period color|Orosirian}}" |[[ยุคออโรซีเรียน|ออโรซีเรียน]]<br>(Orosirian)
| colspan="32" | [[บรรยากาศของโลก|ชั้นบรรยากาศ]]เริ่มอุดมไปด้วย[[ออกซิเจน]] ขณะที่สโตรมาโตไลต์ไซยาโนแบคทีเรียปรากฏขึ้น, [[หลุมอุกกาบาตเฟรเดอฟอร์ต|แอ่งเฟรเดอฟอร์ต]]และ[[แอ่งซัดเบอรี]]ถูกดาวเคราะห์น้อยพุ่งชน, เกิด[[การก่อเทือกเขา]]อย่างมาก, [[การก่อเทือกเขาเพโนเคียน]]และ[[การก่อเทือกเขาทรานส์-ฮัดสัน]]ในทวีปอเมริกาเหนือ, การก่อเทือกเขารูเกอร์ตอนต้นในทวีปแอนตาร์กติกา (2,000–1,700 ล้านปีก่อน), การก่อเทือกเขาเกลนเบิร์กใน[[แกสคอยน์คอมเพล็กซ์|เกลนเบิร์กเทอร์เรน]] [[ทวีปออสเตรเลีย]] (ประมาณ 2,005–1,920 ล้านปีก่อน), การก่อเทือกเขาคิมบันใน[[หินฐานธรณีกอว์เลอร์]]ในทวีปออสเตรเลียเริ่มต้นขึ้น
| style="background:{{period color|Orosirian}}" |{{Period start|orosirian}}{{efn|name="absolute-age"}}
|-
| style="background:{{period color|Rhyacian}}" |[[ยุคไรเอเซียน|ไรเอเซียน]]<br>(Rhyacian)
| colspan="32" | รูปแบบ[[การแทรกชันอัคนีซับซ้อนบุชวีลด์]], [[การเปลี่ยนสภาพโดยธารน้ำแข็งฮูโรเนียน]], สิ่งต้องสงสัยว่าเป็น[[ยูแคริโอต]]พวกแรก, [[ชีวชาติฟรานเซวิลเลียน]]แบบหลายเซลล์, เคนอร์แลนด์แยกตัวออก
| style="background:{{period color|Rhyacian}}" |{{Period start|rhyacian}}{{efn|name="absolute-age"}}
|-
| style="background:{{period color|Siderian}}" |[[ยุคไซดีเรียน|ไซดีเรียน]]<br>(Siderian)
| colspan="32" | [[เหตุการณ์ออกซิเดชันครั้งใหญ่|วิกฤตการณ์ออกซิเจน]] (เนื่องจาก[[ไซยาโนแบคทีเรีย]]) ทำให้เกิดออกซิเจนเพิ่มขึ้น, การก่อเทือกเขาสลีเฟิร์ดใน[[หินฐานธรณีกอว์เลอร์]] [[ทวีปออสเตรเลีย]] เมื่อ 2,440–2,420 ล้านปีก่อน
| style="background:{{period color|Siderian}}" |{{Period start|siderian}}{{efn|name="absolute-age"}}
|-
| rowspan="4" style="background:{{period color|Archean}}" |[[บรมยุคอาร์เคียน|อาร์เคียน]]<br>(Archean)
| style="background:{{period color|Neoarchean}}" |[[มหายุคนีโออาร์เคียน|นีโออาร์เคียน]]<br>(Neoarchean)
| colspan="43" | [[หินฐานธรณี]]ยุคใหม่ส่วนมากมีเสถียรภาพ เป็นไปได้ว่าอาจเกิดเหตุการณ์[[เนื้อดาว|เนื้อโลก]]ตลบทับ, การก่อเทือกเขาอินเซลล์เมื่อ 2,650 ± 150 ล้านปีก่อน, [[แถบกรีนสโตนอาบิทีบี]]ที่ปรากฏทุกวันนี้ใน[[รัฐออนแทรีโอ]]และ[[รัฐควิเบก]]เริ่มก่อตัวขึ้นและเข้าสู่เสถียรภาพเมื่อ 2,600 ล้านปีก่อน, [[มหาทวีป]][[มหาทวีปเคนอร์แลนด์|เคนอร์แลนด์]]เป็นมหาทวีปแรกที่ไม่มีข้อโต้แย้ง และ[[โพรแคริโอต]]บกพวกแรก
| style="background:{{period color|Neoarchean}}" |{{Period start|neoarchean}}{{efn|name="absolute-age"}}
|-
| style="background:{{period color|Mesoarchean}}" |[[มหายุคมีโซอาร์เคียน|มีโซอาร์เคียน]]<br>(Mesoarchean)
| colspan="43" | [[สโตรมาโตไลต์]] (ซึ่งเป็นไปได้ว่าจะเป็น[[กลุ่ม (ชีววิทยา)|กลุ่ม]]ของแบคทีเรียอาศัยพลังแสง เช่น [[ไซยาโนแบคทีเรีย]]) พวกแรก, [[มาโครฟอสซิล]]ที่เก่าแก่ที่สุด, การก่อเทือกเขาฮัมโบล์ดในทวีปแอนตาร์กติกา, [[เบล็กริเวอร์เมกะคัลเดราคอมเพล็กซ์]]เริ่มต้นก่อตัวขึ้นซึ่งปัจจุบันอยู่ใน[[รัฐออนแทรีโอ]]และ[[รัฐควิเบก]] โดยสิ้นสุดลงประมาณ 2,696 ล้านปีก่อน
| style="background:{{period color|Mesoarchean}}" |{{Period start|mesoarchean}}{{efn|name="absolute-age"}}
|-
| style="background:{{period color|Paleoarchean}}" |[[มหายุคพาลีโออาร์เคียน|พาลีโออาร์เคียน]]<br>(Paleoarchean)
| colspan="43" | [[อาร์เคีย]]โพรแคริโอต (เช่น [[เมทาโนเจน]]) และ [[แบคทีเรีย]] (เช่น [[ไซยาโนแบคทีเรีย]]) ขยายจำนวนสายพันธุ์ขึ้นอย่างรวดเร็วท่ามกลาง[[ไวรัส]]ยุคแรก, [[แบคทีเรีย]][[อาศัยพลังแสง|สร้างออกซิเจน]]ที่รู้จักพวกแรก, [[ไมโครฟอสซิล]]ที่แน่ชัดที่เก่าที่สุด, [[ผืดจุลชีพ]]พวกแรก, [[หินฐานธรณี]]ที่เก่าที่สุดบนโลก (เช่น [[หินฐานทวีปแคนาดา]]และ[[หินฐานธรณีพิลบารา]]) อาจก่อตัวขึ้นในช่วงยุคนี้{{efn|name="Oldest-craton"|[[หินฐานธรณี]]หรือ[[เปลือกโลกภาคพื้นทวีป]]ที่มีอายุเก่าแก่ที่สุดที่วัดได้มีอายุประมาณ 3,600–3,800 ล้านปี}}, การก่อเทือกเขาเรย์เนอร์ในทวีปแอนตาร์กติกา
| style="background:{{period color|Paleoarchean}}" |{{Period start|paleoarchean}}{{efn|name="absolute-age"}}
|-
| style="background:{{period color|Eoarchean}}" |[[มหายุคอีโออาร์เคียน|อีโออาร์เคียน]]<br>(Eoarchean)
| colspan="43" | [[สิ่งมีชีวิต]]ที่ไม่มีข้อโต้แย้งพวกแรก โดยเป็น[[โปรโตเซลล์]]แรกที่มียีนเป็น[[สมมติฐานโลกของ RNA|RNA]]เมื่อประมาณ 4,000 ล้านปีก่อน หลังจากที่[[เซลล์ (ชีววิทยา)|เซลล์]]แท้ ([[โพรแคริโอต]]) วิวัฒนาการขึ้นพร้อมยีนที่เป็น[[โปรตีน]]และ[[ดีเอ็นเอ]]เมื่อประมาณ 3,800 ล้านปีก่อน, [[การระดมชนหนักครั้งหลัง]]สิ้นสุดลง, การก่อเทือกเขา[[ภูเขาเนเปียร์|เนเปียร์]]ในทวีปแอนตาร์กติกาเมื่อ 4,000 ± 200 ล้านปีก่อน
| style="background:{{period color|Eoarchean}}" | ~{{Period start|eoarchean}}
|-
| rowspan="4" style="background:{{period color|Hadean}}" |[[บรมยุคเฮเดียน|เฮเดียน]]{{efn|name="Precambrian-Time"}}{{efn|name="hadeon-not-formal"|แม้ว่าจะมีการใช้งานกันอย่างทั่วไป แต่[[บรมยุคเฮเดียน]]นั้นไม่ถูกจัดเป็นบรมยุคอย่างเป็นทางการ|group=note}}<br>(Hadean)
| colspan="54" |การก่อตัวขึ้นของหินต้นกำเนิด (protolith) ของหินที่เก่าแก่ที่สุดที่เป็นที่รู้จัก ([[หินไนส์อะคัสตา]]) อายุประมาณ 4,031 ถึง 3,580 ล้านปีก่อน<ref name="Bowring_1999">{{cite journal |last1=Bowring |first1=Samuel A. |last2=Williams |first2=Ian S. |year=1999 |title=Priscoan (4.00&ndash;4.03 Ga) orthogneisses from northwestern Canada |journal=Contributions to Mineralogy and Petrology |volume=134 |issue=1 |pages=3 |bibcode=1999CoMP..134....3B |doi=10.1007/s004100050465 |s2cid=128376754}}</ref><ref name="Iizuka_2007">{{Citation |last1=Iizuka |first1=Tsuyoshi |title=Chapter 3.1 The Early Archean Acasta Gneiss Complex: Geological, Geochronological and Isotopic Studies and Implications for Early Crustal Evolution |date=2007 |url=https://linkinghub.elsevier.com/retrieve/pii/S0166263507150313 |work=Developments in Precambrian Geology |volume=15 |pages=127–147 |publisher=Elsevier |language=en |doi=10.1016/s0166-2635(07)15031-3 |isbn=978-0-444-52810-0 |access-date=2022-05-01 |last2=Komiya |first2=Tsuyoshi |last3=Maruyama |first3=Shigenori}}</ref>, การปรากฏขึ้นครั้งแรกของ[[การแปรสัณฐานแผ่นธรณีภาค]]ที่เป็นไปได้, สมมติฐาน[[กำเนิดชีวิตจากสิ่งไร้ชีวิต|รูปแบบของสิ่งมีชีวิต]]แรก, สิ้นสุดการระดมชนหนักครั้งต้น, [[แร่]]เก่าแก่ที่สุดที่เป็นที่รู้จัก ([[เพทาย]] อายุ 4,408 ± 8 ล้านปีก่อน)<ref name="Wilde_2001">{{Cite journal |last1=Wilde |first1=Simon A. |last2=Valley |first2=John W. |last3=Peck |first3=William H. |last4=Graham |first4=Colin M. |date=2001 |title=Evidence from detrital zircons for the existence of continental crust and oceans on the Earth 4.4 Gyr ago |url=http://www.nature.com/articles/35051550 |journal=Nature |language=en |volume=409 |issue=6817 |pages=175–178 |doi=10.1038/35051550 |issn=0028-0836 |pmid=11196637 |s2cid=4319774}}</ref>, ดาวเคราะห์น้อยและดาวหางนำน้ำมาสู่โลก เกิดเป็นมหาสมุทรแรกขึ้น, กำเนิด[[ดวงจันทร์]] (4,533 ถึง 4,527 ล้านปีก่อน) ซึ่งอาจเกิดจาก[[สมมติฐานการชนครั้งใหญ่]], กำเนิดโลก (4,570 ถึง 4,567.17 ล้านปีก่อน)
| style="background:{{period color|Hadean}}" |~{{Period start|hadean}} {{Period start error|hadean}}{{efn|name="absolute-age"|group=note}}
|}