ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ธรณีกาล"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
JBot (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนการแก้ไขที่อาจเป็นการทดลอง หรือก่อกวนด้วยบอต ไม่ควรย้อน? แจ้งที่นี่
ป้ายระบุ: ย้อนด้วยมือ
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: ถูกย้อนกลับแล้ว การแก้ไขแบบเห็นภาพ แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 257:
 
==ประวัติของมาตราธรณีกาล==
{{กาลานุกรมสิ่งมีชีวิต}}
{{บทความหลัก|ประวัติของธรณีวิทยา|ประวัติของบรรพชีวินวิทยา}}
[[ไฟล์:Geological time spiral.png|thumb|วังวนธรณีกาล แสดงให้เห็นประวัติศาสตร์อันยาวนาน 4.6 พันล้านปีของโลกตั้งแต่[[พรีแคมเบรียน|อภิมหาบรมยุคพรีแคมเบรียน]]จนถึง[[โฮโลซีน|ปัจจุบัน]]]]
 
===ประวัติช่วงต้น===
ในสมัย[[กรีซโบราณ]] [[แอริสตอเติล]] (384–322 BCE) ได้สังเกตว่ามี[[ซากดึกดำบรรพ์]]ของเปลือกหอยในหิน ซึ่งคล้ายกันกับที่พบได้ตามชายหาด เขาได้อนุมานว่าซากดึกดำบรรพ์ในหินเหล่านั้นเกิดขึ้นจากสิ่งมีขีวิต และเขาให้เหตผลว่า ตำแหน่งของแผ่นดินและทะเลนั้นมีการเปลี่ยนแปลงไปเมื่อนานมาแล้ว [[เลโอนาร์โด ดา วินชี]] (ค.ศ. 1452–1519) เห็นด้วยกับการตีความของแอริสตอเดิลที่ว่าซากดึกดำบรรพ์นั้นเป็นตัวแทนของสิ่งมีชีวิตโบราณที่เหลืออยู่<ref>{{cite web|url=http://www.wmnh.com/wmas0002.htm|title=Correlating Earth's History|first=Paul R.|last=Janke|publisher = Worldwide Museum of Natural History|date = 1999}}</ref>
 
ช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 11 [[อิบน์ ซีนา|แอวิเซนนา]] (เสียชีวิต ค.ศ. 1037) [[ธรณีวิทยาและการทำแผนที่ในอิสลามยุคกลาง|นักปราชญ์ชาวเปอร์เซีย]] และ[[อัลแบร์ตุส มาญุส]] (เสียชีวิต ค.ศ. 1280) [[มุขนายก]]แห่ง[[คณะดอมินิกัน]]ในศาสนาคริสต์ ได้ขยายความคำอธิบายของแอริสตอเติลไปเป็นทฤษฏีของเหลว[[การกลายเป็นหิน|กลายเป็นหิน]]<ref>{{Cite book|title= The Meaning of Fossils: Episodes in the History of Palaeontology|first= M. J. S.|last= Rudwick|date= 1985|publisher= [[University of Chicago Press]]|isbn= 978-0-226-73103-2|page= 24}}</ref> นอกจากนี้แอวิเซนนายังได้เสนอหลักการข้อหนึ่งที่อยู่ภายใต้มาตรธรณีกาลด้วย นั่นคือ [[กฎการวางซ้อน]]ของชั้นหิน ในขณะที่กล่าวถึงการกำเนิดภูเขาในหนังสือ ''[[The Book of Healing]]'' (ค.ศ. 1027)<ref>{{Cite journal|doi= 10.1111/j.1365-3091.2008.01009.x|title= The role of the Mediterranean region in the development of sedimentary geology: A historical overview|date= 2009|last1= Fischer|first1= Alfred G.|last2= Garrison|first2= Robert E.|journal= Sedimentology|volume= 56|issue= 1|pages= 3|bibcode = 2009Sedim..56....3F }}</ref> และยังมี[[เฉิน กัว]] (ค.ศ. 1031–1095) [[ประวัติวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของจีน|นักธรรมชาติวิทยาชาวจีน]] ซึ่งเป็นผู้ค้นพบแนวคิดของ "[[ห้วงเวลาลึก]]" ด้วย<ref name="Silvin">
{{Cite book
| last = Sivin | first = Nathan
| author-link = Nathan Sivin
| title = Science in Ancient China: Researches and Reflections
| publisher = Ashgate Publishing [[Variorum]] series
| date = 1995 | location = [[Brookfield, Vermont|Brookfield]], Vermont
| pages = III, 23–24 | no-pp = true
}}
</ref>
 
===การจัดตั้งหลักการเบื้องต้น===
ในช่วงปลายคริสต์ตวรรษที่ 17 [[นิโกลัส สตีโน]] (ค.ศ. 1638–1686) ได้กล่าวถึงหลักการพื้นฐานของมาตรธรณีกาล โดยสตีโนแย้งว่าชั้นหินนั้นถูกวางเรียงต่อ ๆ กันและแต่ละชั้นแสดงถึง "ส่วน" ของเวลา นอกจากนี้ เขายังได้ตั้ง[[กฎการวางซ้อน]]ขึ้น ซึ่งระบุว่าชั้นหินหนึ่ง ๆ อาจมีอายุมากกว่าชั้นที่อยู่ด้านบนและมีอายุน้อยกว่าชั้นที่อยู่ด้านล่างชั้นดังกล่าว แม้ว่าหลักการของสตีโนนั้นจะเรียบง่าย แต่การนำไปพิสูจน์นั้นกลับมีความท้าทาย นอกจากนี้ แนวคิดของสตีโนยังนำไปสู่แนวคิดที่สำคัญอื่น ๆ ที่นักธรณีวิทยาใช้ในปัจจุบันด้วย เช่น [[การหาอายุสัมพัทธ์]] ซึ่งตลอดช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 18 นั้น นักธรณีวิทยาตระหนักได้ว่า
#ลำดับของชั้นหินมักจะถูกกร่อน ถูกบิดให้ผิดรูป ถูกทำให้เอียง หรือแม้แต่เกิดกลับด้านหลังจากการถูกทับถมแล้ว
#ชั้นหินที่วางตัวในเวลาเดียวกันแต่ต่างพื้นที่กัน อาจมีลักษณะที่แตกต่างกันได้อย่างสิ้นเชิง
#ชั้นหินของพื้นที่หนึ่ง ๆ เป็นเพียงส่วนเดียวของประวัติอันยาวนานของโลกเท่านั้น
ทฤษฎี[[เนปจูนนิยม|เนปจูนิสต์]]ที่เป็นที่นิยมในเวลานั้น (ทฤษฎีได้รับการอธิบายโดย[[อับราฮัม ก็อทท์ลบ เวร์เนร์]] (ค.ศ. 1749–1817) ในช่วงปลายศตวรรษที่ 18) เสนอว่า หินทั้งหมดนั้นเกิดการตะกอนจากมหาอุทกภัยครั้งใหญ่เพียงครั้งเดียว ก่อนที่การเปลี่ยนแปลงทางความคิดได้เกิดขึ้นครั้งใหญ่เมื่อ[[เจมส์ ฮุตตัน]]ได้นำเสนอ ''ทฤษฎีโลก หรือ การตรวจสอบกฎที่สามารถสังเกตได้จากองค์ประกอบ การยุบ และการบูรณะขึ้นของแผ่นดินบนโลก'' ขึ้น<ref> ที่ในเดือนมีนาคมและเมษายน ค.ศ. 1785 โดยได้ยืนยันว่า "เมื่อสิ่งต่าง ๆ ปรากฏขึ้นจากมุมมองของคริสต์ศตวรรษที่ 20 ทำให้เจมส์ ฮุตตันจากการอ่านเหล่านั้นกลายมาเป็นผู้ก่อกำเนิดธรณีวิทยาสมัยใหม่"{{rp|95–100}} โดยฮุตตันเสนอว่า ภายใน [เนื้อใน] ของโลกนั้นร้อน และความร้อนนี้เป็นกลไกขับเคลื่อนการสร้างชั้นหินใหม่ขึ้น โดยแผ่นดินจะถูกก่อนไปโดยอากศและน้ำ และเกิดการทับถมเป็นชั้นในทะเล จากนั้นความร้อนก็จะรวมตะกอนเหล่านั้นให้เป็นหิน และยกให้เป็นแผ่นดินใหม่ โดยทฤษฎีนี้เรียกว่า ซึ่งตรงกันข้ามกับทฤษฎีที่มุ่งไปที่อุทกภัยแบบเนปจูนนิยม
{{cite journal
| last1 = Hutton
| first1 = James
| author-link1 = James Hutton
| title = Theory of the Earth; or an investigation of the laws observable in the composition, dissolution, and restoration of land upon the Globe
| url = https://archive.org/stream/cbarchive_106252_theoryoftheearthoraninvestigat1788/theoryoftheearthoraninvestigat1788#page/n1/mode/2up
| journal = Transactions of the Royal Society of Edinburgh
| publication-date = 1788
| volume = 1
| issue = 2
| pages = 209–308
| access-date = 2016-09-06
| doi=10.1017/s0080456800029227
| year = 2013
}}
</ref> ที่[[ราชสมาคมแห่งเอดินบะระ]]ในเดือนมีนาคมและเมษายน ค.ศ. 1785 โดย[[จอห์น แมคฟี]]ได้ยืนยันว่า "เมื่อสิ่งต่าง ๆ ปรากฏขึ้นจากมุมมองของคริสต์ศตวรรษที่ 20 ทำให้เจมส์ ฮุตตันจากการอ่านเหล่านั้นกลายมาเป็นผู้ก่อกำเนิดธรณีวิทยาสมัยใหม่"<ref name="mcphee">
{{cite book|first=John|last=McPhee|author-link=John McPhee|title=Basin and Range|location=New York|publisher=Farrar, Straus and Giroux|date=1981|isbn = 9780374109141}}</ref>{{rp|95–100}} โดยฮุตตันเสนอว่า ภายใน [เนื้อใน] ของโลกนั้นร้อน และความร้อนนี้เป็นกลไกขับเคลื่อนการสร้างชั้นหินใหม่ขึ้น โดยแผ่นดินจะถูกก่อนไปโดยอากศและน้ำ และเกิดการทับถมเป็นชั้นในทะเล จากนั้นความร้อนก็จะรวมตะกอนเหล่านั้นให้เป็นหิน และยกให้เป็นแผ่นดินใหม่ โดยทฤษฎีนี้เรียกว่า [[พลูโตนิยม]] ซึ่งตรงกันข้ามกับทฤษฎีที่มุ่งไปที่อุทกภัยแบบเนปจูนนิยม
 
===การประดิษฐ์มาตรธรณีกาล===
ความพยายามอย่างจริงจังครั้งแรกในการกำหนดมาตรธรณีกาลที่สามารถนำไปประยุกต์ใช้ได้ทั่วโลกนั้นเกิดขึ้นในช่วงปลายคริตส์ศตวรรษที่ 18 ผู้ที่มีอิทธิพลต่อความคิดมากที่สุดในช่วงแรก ๆ (โดยมีเวร์เนร์เป็นผู้ครองอิทธิพลเหนือบุคคลอื่น) ได้แบ่งหินของเปลือกโลกออกเป็นสี่ประเภท ได้แก่ ปฐมภูมิ (Primary) ทุติยภูมิ (Secondary) ตติยภูมิ (Tertiary) และ จตุรภูมิ (Quaternary) โดยตามทฤษฎีแล้ว หินแต่ละประเภทนั้นจะก่อตัวขึ้นในช่วงเวลาหนึ่ง ๆ ในประวัติโลก ดังนั้น อันที่จริงแล้วจึงเป็นไปได้ที่จะกล่าวถึง "ยุค''เทอร์เทียรี''" เช่นเดียวกับ "หิน''เทอร์เทียรี''" โดย "ยุคตติยภูมิ" หรือ "เทอร์เทียรี" (ปัจจุบันแบ่งออกเป็นยุคพาลีโอจีนและนีโอจีน) ถูกใช้งานในฐานะชื่อของยุคทางธรณีวิทยามาจนถึงศตวรรษที่ 20 ส่วน "ยุคจตุรภูมิ" หรือ "ควอเทอร์นารี" ยังคงถูกใช้เป็นชื่อของยุคอย่างเป็นทางการจวบจนปัจจุบัน
 
การระบุชั้นหินโดยใช้ซากดึกดำบรรพ์ที่มีอยู่ ซึ่งถูกบุกเบิกโดย[[วิลเลียม สมิธ]], [[ฌ็อฌ กูวีเย]], [[ฌ็อง-บาติสต์ ฌูว์ลีแย็ง โดมาลียูส ดาลัว|ฌ็อง โดมาลียูส ดาลัว]] และ[[อเล็กซองเดรอะ บงนีอาต์]]ในช่วงต้นคริสต์ศตวรรษที่ 19 ช่วยให้นักธรณีวิทยาสามารถแบ่งประวัติของโลกได้อย่างแม่นยำมากยิ่งขึ้น นอกจากนี้ยังช่วยให้นักธรณีวิทยาเชื่อมโยงชั้นหินต่าง ๆ ข้ามพรมแดนของประเทศ (หรือแม้แต่ทวีป) ได้ โดยหากชั้นหินสองสั้น (แต่ว่าอยู่ห่างไกลกัยหรือมีองค์ประกอบต่างกัน) ซึ่งมีซากดึกดำบรรพ์เหมือนกัน โอกาสที่ชั้นหินทั้งสองจะวางตัวในเวลาเดียวกันนั้นจะอยู่ในระดับดี จากการศึกษาโดยละเอียดเกี่ยวกับชั้นหินและซากดึกดำบรรพ์ในยุโรประหว่างปี ค.ศ. 1820 ถึง 1850 ทำให้เกิดของลำดับทางธรณีที่ยังใช้มาจนถึงปัจจุบันนี้
 
===การตั้งชื่อยุค สมัย และ มหายุค===
งานเริ่มแรกในการพัฒนามาตรธรณีกาลนั้นถูกครอบงำโดยนักธรณีวิทยาชาวอังกฤษ ชื่อของยุคทางธรณีวิทยาจึงสะท้อนถึงการครอบงำนั้น โดย คำว่า "แคมเบรียน" (ชื่อโบราณของ[[ประเทศเวลส์]]) และ "ออร์โดวิเชียน" และ "ไซลูเรียน" ก็เป็นชื่อที่ตั้งตามเผ่าโบราณของประเทศเวลส์ เนื่องจากมีการกำหนดลำดับชั้นหินและกำหนดยุคจากประเทศเวลส์<ref name="mcphee"/>{{rp|113–114}} ส่วน "ดรโวเนียน" เป้นชื่อที่ตั้งตามเทศมณฑล[[เดวอน]]ของประเทศอังกฤษ และ "คาร์บอนิเฟอรัส" มาจากคำว่า "the Coal Measures" ซึ่งเป็นคำเก่าที่ใช้โดยนักธรณีวิทยาชาวอังกฤษในชั้นหินชุดเดียวกัน ขณะที่ "เพอร์เมียน" ตั้งตาม[[ดินแดนเปียร์ม]]ของประเทศรัสเซีย เนื่องจากยุคดังกล่าวถูกกำหนดโดยใช้ชั้นหินในภูมิภาคดังกล่าวโดย[[รอเดอร์ริก เมอร์ชสัน]] นักธรณีวิทยาชาวสก็อต อย่างไรก็ตาม บางยุคก็ได้รับการตั้งชื่อโดยนักธรณีวิทยาจากประเทศอื่น เช่น "ไทรแอสซิก" ตั้งโดย[[ฟรีดริช เอากุส ฟอน อัลแบร์ที|ฟรีดริช ฟอน อัลแบร์ที]] นักธรณีวิทยาชาวเยอรมัน โดยชื่อมาจากลักษณะสามชั้นที่แตกต่างกัน (ในภาษาละติน ''trias'' หมายถึง ตรีลักษณ์) กล่าวคือ [[ชั้นหินแดง]] ซึ่งถูกปิดทับด้วยชั้น[[หินชอล์ก]] และตามด้วยชั้น[[หินดินดาน]]ดำ ซึ่งลักษณะนี้สามารถพบได้ทั่วประเทศเยอรมนีและภูมิภาคยุโรปตะวันตกเฉียงเหนือ จึงเป็นที่มาของชื่อ 'ไทรแอส' (trias) ชื่อ "จูแรสซิก" ตั้งโดย[[อเล็กซองเดรอะ บงนีอาต์]] นักธรณีวิทยาชาวฝรั่งเศส โดยมีที่มาจาก[[หินปูน]]ทะเลเป็นบริเวณกว้างของ[[ภูเขาฌูรา]] (Jura) ชื่อ "ครีเทเชียส" (จากภาษาละติน ''creta'' หมายถึง หินชอล์ก) เป็นยุคที่ถูกกำหนดครั้งแรกโดย[[ฌ็อง-บาติสต์ ฌูว์ลีแย็ง โดมาลียูส ดาลัว|ฌ็อง โดมาลียูส ดาลัว]] นักธรณีวิทยาชาวเบลเยียมในปี พ.ศ. 2365 โดยการใช้ชั้นหินใน[[แอ่งปารีส]]<ref>{{Cite encyclopedia |title=Great Soviet Encyclopedia|publisher=Sovetskaya Enciklopediya|edition=3rd|pages=vol. 16, p. 50|date=1974|location=Moscow|language=ru|no-pp=true|title-link=Great Soviet Encyclopedia}}</ref> และได้ตั้งชื่อตามชั้นหินชอล์ก (การทับถมของ[[แคลเซียมคาร์บอเนต]]ที่เกิดจากเปลือกของสัตว์ทะเล[[สัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง|ไม่มีกระดูกสันหลัง]]) ที่กว้างขวาง ซึ่งพบได้ในภูมิภาคยุโรปตะวันตก
 
นักธรณีวิทยาชาวอังกฤษยังได้รับหน้าที่ในการจัดกลุ่มยุคให้เป็นมหายุคต่าง ๆ ด้วย รวมถึงการแบ่งยุคเทอร์เทียรีและควอเทอร์นารีออกเป็นสมัยต่าง ๆ ในปี พ.ศ. 2384 [[เจมส์ ฟิลลิปส์ (นักธรณีวิทยา)|เจมส์ ฟิลลิปส์]] ได้ตีพิมพ์มาตรธรณีกาลทั่วโลกครั้งแรกขึ้นตามประเภทของซากดึกดำบรรพ์ที่พบในแต่ละมหายุค โดยมาตรของฟิลลิปส์ช่วยทำให้คำศัพท์ เช่น ''[[มหายุคพาลีโอโซอิก|พาลีโอโซอิก]]'' ("สิ่งมีชีวิตเก่า") ซึ่งเขาได้ขยายให้มันครอบคลุมเวลามากกว่าที่เคยใช้มาให้เป็นคำมาตรฐาน และยังได้คิดค้นคำว่า ''[[มหายุคมีโซโซอิก|มีโซโซอิก]]'' ("สิ่งมีชีวิตกลาง") ขึ้นด้วย<ref>{{cite book|last=Rudwick|first=Martin|title=Worlds Before Adam: The Reconstruction of Geohistory in the Age of Reform|date=2008|pages= 539–545}}</ref>
 
===การหาอายุของธรณีกาล===
เมื่อวิลเลียม สมิธและเซอร์[[ชาร์ล ไลเอลล์]]สมิธและเซอร์รู้เป็นครั้งแรกว่าชั้นหินนั้นเป็นตัวแทนของช่วงเวลาที่ต่อเนื่องกัน มาตรกาลสามารถประมาณขึ้นได้อย่างคราว ๆ ไม่แม่นยำเท่านั้น อันเนื่องมาจากค่าประมาณของอัตราการเปลี่ยนแปลงที่ไม่แน่นอน ขณะเดียวกันนักคิดได้เสนออายุของโลกเอาไว้ที่ประมาณหกพันถึงเจ็ดพันปี โดยอ้างอิงจาก[[คัมภีร์ไบเบิล]] ส่วนนักธรณีวิทยาได้เสนอมาตรธรณีกาลไว้ที่หลักล้านปี และบางกลุ่มถึงกับเสนอว่าอายุของโลกนั้นเป็นอนันต์{{citation needed|date=September 2017}} นักธรณีวิทยาและนักบรรพชีวินวิทยาได้สร้างตารางธรณีขึ้น โดยอิงจากตำแหน่งสัมพัทธ์ของชั้นหินและซากดึกดำบรรพ์ต่าง ๆ และประเมินมาตรกาลขึ้นจากการศึกษาอัตรา[[การผุพังอยู่กับที่]] [[การกร่อน]] [[การเกิดหินตะกอน]] และ [[การแข็งตัวกลายเป็นหิน]] จนกระทั่งมีการค้นพบ[[การสลายให้กัมมันตรังสี|กัมมันตรังสี]]ในปี พ.ศ. 2439 และได้มีการนำมาประยุกต์ใช้ทางธรณีวิทยาด้วย[[การหาอายุสัมบูรณ์]]ในช่วงครึ่งแรกของศตวรรษที่ 20 ขณะที่อายุของชั้นหินต่าง ๆ และอายุของโลกนั้นยังคงเป็นที่ถกเถียงกันอย่างมาก
{{หลัก|การหาอายุตามลำกับเวลา}}
เมื่อวิลเลียม สมิธและเซอร์[[ชาร์ล ไลเอลล์]]รู้เป็นครั้งแรกว่าชั้นหินนั้นเป็นตัวแทนของช่วงเวลาที่ต่อเนื่องกัน มาตรกาลสามารถประมาณขึ้นได้อย่างคราว ๆ ไม่แม่นยำเท่านั้น อันเนื่องมาจากค่าประมาณของอัตราการเปลี่ยนแปลงที่ไม่แน่นอน ขณะเดียวกันนักคิดได้เสนออายุของโลกเอาไว้ที่ประมาณหกพันถึงเจ็ดพันปี โดยอ้างอิงจาก[[คัมภีร์ไบเบิล]] ส่วนนักธรณีวิทยาได้เสนอมาตรธรณีกาลไว้ที่หลักล้านปี และบางกลุ่มถึงกับเสนอว่าอายุของโลกนั้นเป็นอนันต์{{citation needed|date=September 2017}} นักธรณีวิทยาและนักบรรพชีวินวิทยาได้สร้างตารางธรณีขึ้น โดยอิงจากตำแหน่งสัมพัทธ์ของชั้นหินและซากดึกดำบรรพ์ต่าง ๆ และประเมินมาตรกาลขึ้นจากการศึกษาอัตรา[[การผุพังอยู่กับที่]] [[การกร่อน]] [[การเกิดหินตะกอน]] และ [[การแข็งตัวกลายเป็นหิน]] จนกระทั่งมีการค้นพบ[[การสลายให้กัมมันตรังสี|กัมมันตรังสี]]ในปี พ.ศ. 2439 และได้มีการนำมาประยุกต์ใช้ทางธรณีวิทยาด้วย[[การหาอายุสัมบูรณ์]]ในช่วงครึ่งแรกของศตวรรษที่ 20 ขณะที่อายุของชั้นหินต่าง ๆ และอายุของโลกนั้นยังคงเป็นที่ถกเถียงกันอย่างมาก
 
มาตรธรณีกาลแรกที่ใช้อายุสมบูรณ์ถูกตีพิมพ์ครั้งแรกในปี พ.ศ. 2456 โดย[[อาร์เทอร์ โฮล์ม]] นักธรณีวิทยาชาวอังกฤษ<ref>{{cite web|url=http://www.enchantedlearning.com/subjects/Geologictime.html|title=Geologic Time Scale|publisher = EnchantedLearning.com}}</ref> เขาได้พัฒนาแขนงทาง[[ธรณีกาลวิทยา]]ขึ้น และยังได้ตีพิมพ์หนังสือระดับโลก ''The Age of the Earth'' ขึ้น ซึ่งเขาได้ประมาณอายุของโลกว่ามีอายุอย่างน้อย 1.6 พันล้านปี<ref>{{cite web|url=http://www.bris.ac.uk/news/2007/5609.html|title=How the discovery of geologic time changed our view of the world|publisher=Bristol University}}</ref>
 
ในความพยายามอย่างต่อเนื่องตั้งแต่ปี พ.ศ. 2517 [[คณะกรรมาธิการการลำดับชั้นหินสากล]]ได้ทำงานเพื่อเชื่อมโยง[[การลำดับชั้นหิน|บันทึกทางชั้นหิน]]ท้องถิ่นในบริเวณต่าง ๆ ของโลกให้เป็นระบบเกณฑ์มาตรฐานเดียวกันทั่วทั้งโลก<ref>{{cite journal|last1=Martinsson |first1=Anders |last2=Bassett|first2=Michael G. |title=International Commission on Stratigraphy |journal=Lethaia |volume=13 |number=1 |year=1980|page=26 |doi=10.1111/j.1502-3931.1980.tb01026.x }}</ref>
 
ในปี พ.ศ. 2520 ''คณะกรรมาธิการการลำดับชั้นหินโลก'' (ปัจจุบัน คือ คณะกรรมาธิการการลำดับชั้นหินสากล) ได้เริ่มกำหนดจุดอ้างอิงทั่วโลกขึ้น เรียกว่า GSSP ([[จุดและแหล่งชั้นหินแบบฉบับขอบทั่วโลก]]) สำหรับช่วงเวลาทางธรณีวิทยาและระยะของกลุ่มซากดึกดำบรรพ์ โดยงานของคณะกรรมาธิการได้ถูกอธิบายไว้ในมาตรธรณีกาลปี พ.ศ. 2555 ของแกรดสเทนและคณะ<ref name="The Geologic Time Scale"/> นอกจากนี้ยังมีแบบจำลอง[[ยูเอ็มแอล]] สำหรับเป็นวิธีการจัดโครงสร้างมาตรเวลาที่เกี่ยวข้องกับ GSSP ด้วย<ref>{{cite journal |last1= Cox |first1= Simon J. D.|last2= Richard|first2= Stephen M.|date= 2005|title=A formal model for the geologic time scale and global stratotype section and point, compatible with geospatial information transfer standards |journal= Geosphere|volume= 1|issue= 3|pages= 119–137|doi= 10.1130/GES00022.1 |url= http://geosphere.geoscienceworld.org/content/1/3/119.full|access-date=31 December 2012|bibcode = 2005Geosp...1..119C |doi-access= free}}</ref>
 
===ปัญหาสหสัมพันธ์===
นักธรณีวิทยาชาวอเมริกันถือว่า[[กึ่งยุคมิสซิสซิปเปียน|มิสซิสซิปเปียน]]และ[[กึ่งยุคเพนซิลเวเนียน|เพนซิลเวเนียน]]เป็นยุคตามการแบ่งของตนมาอย่างยาวนาน แม้ว่า ICS จะรับรองทั้งสองช่วงเป็น "กึ่งยุค" (subperiods) ของ[[ยุคคาร์บอนิเฟอรัส]]ตามการรับรองของนักธรณีวิทยาชาวยุโรป<ref name=":0">{{Citation|last1=Davydov|first1=V.I.|title=The Carboniferous Period|date=2012|url=https://linkinghub.elsevier.com/retrieve/pii/B9780444594259000238|work=The Geologic Time Scale|pages=603–651|publisher=Elsevier|language=en|doi=10.1016/b978-0-444-59425-9.00023-8|isbn=978-0-444-59425-9|access-date=2021-06-17|last2=Korn|first2=D.|last3=Schmitz|first3=M.D.|last4=Gradstein|first4=F.M.|last5=Hammer|first5=O.}}</ref> กรณีเช่นนี้เกิดขึ้นในประเทศจีน ประเทศรัสเซีย และแม้แต่ประเทศนิวซีแลนด์ซึ่งมีมหายุคอื่น ๆ ทำให้การจัดบันทึกทางการลำดับชั้นหินให้เป็นหนึ่งเดียวกันนั้นช้าลง<ref>{{cite journal |last1=Lucas |first1=Spencer G. |title=The GSSP Method of Chronostratigraphy: A Critical Review |journal=Frontiers in Earth Science |date=6 November 2018 |volume=6 |pages=191 |doi=10.3389/feart.2018.00191|bibcode=2018FrEaS...6..191L |doi-access=free }}</ref>
 
===แอนโทรโปซีน===
วัฒนธรรมสมัยนิยมและนักวิทยาศาสตร์จำนวนที่มากขึ้นได้ใช้คำว่า "[[แอนโทรโปซีน]]" อย่างไม่เป็นทางการในการระบุสมัยปัจจุบันที่เรากำลังอาศัยอยู่<ref>{{Cite web|last=Stromberg|first=Joseph|title=What Is the Anthropocene and Are We in It?|url=https://www.smithsonianmag.com/science-nature/what-is-the-anthropocene-and-are-we-in-it-164801414/|access-date=2021-01-15|website=Smithsonian Magazine|language=en}}</ref> คำนี้ถูกบัญญัติโดย[[พอล เจ. ครูตเซน|พอล ครูตเซน]]และ[[ยูจีน เอฟ. สโตร์เมอร์|ยูจีน สโตร์เมอร์]]ในปี พ.ศ. 2543 เพื่ออธิบายถึงเวลาปัจจุบันที่ซึ่งมนุษย์ส่งผลกระทบอย่างมากต่อสิ่งแวดล้อม และยังมีการวิวัฒนาการเพื่ออธิบาย "สมัย" ซึ่งเริ่มต้นไปแล้วในอดีตด้วย โดยกำหนดเริ่มจากการปล่อยคาร์บอนของมนุษย์และการผลิตและการบริโภคสินค้าพลาสติกที่หลงเหลืออยู่ในพื้นดิน<ref>{{Cite web|title = Anthropocene: Age of Man – Pictures, More From National Geographic Magazine|url = http://ngm.nationalgeographic.com/2011/03/age-of-man/kolbert-text/2|website = ngm.nationalgeographic.com|access-date = 2015-09-22|archive-date = 2016-08-22|archive-url = https://web.archive.org/web/20160822063850/http://ngm.nationalgeographic.com/2011/03/age-of-man/kolbert-text/2|url-status = dead}}</ref>
 
นักวิจารณ์คำศัพท์คำนี้กล่าวว่า ไม่ควรใช้คำศัพท์คำนี้ เนื่องจากเป็นเรื่องที่ยากในการกำหนดเวลาอย่างเฉพาะเจาะจงที่มนุษย์เริ่มมีอิทธิพลต่อชั้นหิน ซึ่งถือเป็นการกำหนดจุดเริ่มต้นของสมัย<ref>{{Cite web|title = What is the Anthropocene and Are We in It?|url = http://www.smithsonianmag.com/science-nature/what-is-the-anthropocene-and-are-we-in-it-164801414/?no-ist|access-date = 2015-09-22|first = Joseph|last = Stromberg}}</ref>
 
คำนี้ไม่ได้รับการอนุมัติให้ใช้อย่างเป็นทางการโดย ICS ในเดือนกันยายน พ.ศ. 2558<ref name="icsanthropocene">{{Cite web |website= Subcommission on Quaternary Stratigraphy |title= Working Group on the 'Anthropocene'|url = http://quaternary.stratigraphy.org/workinggroups/anthropocene/|publisher= [[International Commission on Stratigraphy]]}}</ref> โดยคณะทำงานแอนโทรโปซีนได้จัดประชุมกัน ณ กรุงออสโล ในเดือนเมษายน พ.ศ. 2559 เพื่อรวบรวมหลักฐานสนับสนุนข้อโต้แย้งสำหรับแอนโทรโปซีนว่าเป็นสมัยทางธรณีวิทยาอย่างแท้จริง<ref name = icsanthropocene/> โดยหลักฐานได้รับการประเมินและทางกลุ่มได้ลงมติสนับสนุนให้ใช้คำว่า "แอนโทรโปซีน" เป็นชื่อช่วงอายุใหม่ทางทางธรณีวิทยาในเดือนสิงหาคม พ.ศ. 2559<ref>{{Cite web|url=https://www.theguardian.com/environment/2016/aug/29/declare-anthropocene-epoch-experts-urge-geological-congress-human-impact-earth|title=The Anthropocene epoch: scientists declare dawn of human-influenced age|website=[[TheGuardian.com]]|date=29 August 2016}}</ref> หากคณะกรรมาธิการการลำดับชั้นหินสากลอนุมัติข้อแนะนำนี้ ข้อเสนออนุมัติดังกล่าวจะต้องได้รับรองสัตยาบันโดย[[สหพันธ์ธรณีวิทยาสากล]] จึงจะถูกยอมรับอย่างเป็นทางการในฐานะส่วนหนึ่งของมาตรธรณีกาลได้<ref name="Gixmodo001">
{{cite web
|author= George Dvorsky
|url= https://gizmodo.com/new-evidence-suggests-human-beings-are-a-geological-for-1751429480
|title= New Evidence Suggests Human Beings Are a Geological Force of Nature
|publisher= Gizmodo.com |access-date= 2016-10-15
}}
</ref>
 
===การเปลี่ยนแปลงยุคที่สำคัญ===
*การเปลี่ยนแปลงในช่วงไม่กี่ปีที่ผ่านมา คือ การยกเลิกการใช้ยุคเทอร์เทียรี และใช้คำว่า [[ยุคพาลีโอจีน]] และ [[ยุคนีโอจีน]]ตามลำดับแทน โดยสิ่งนี้ยังคงเป็นที่ถกเถียงกันอยู่<ref>{{cite journal |last1=Knox |first1=R.W.O’B. |last2=Pearson |first2=P.N. |last3=Barry |first3=T.L. |last4=Condon |first4=D.J. |last5=Cope |first5=J.C.W. |last6=Gale |first6=A.S. |last7=Gibbard |first7=P.L. |last8=Kerr |first8=A.C. |last9=Hounslow |first9=M.W. |last10=Powell |first10=J.H. |last11=Rawson |first11=P.F. |last12=Smith |first12=A.G. |last13=Waters |first13=C.N. |last14=Zalasiewicz |first14=J. |title=Examining the case for the use of the Tertiary as a formal period or informal unit |journal=Proceedings of the Geologists' Association |date=June 2012 |volume=123 |issue=3 |pages=390–393 |doi=10.1016/j.pgeola.2012.05.004}}</ref>
*มีการพิจารณาการยกเลิกยุคควอเทอร์นารี แต่ถูกพักไว้ก่อนด้วยเหตุผลด้านความต่อเนื่อง<ref>{{cite journal |last1=Gibbard |first1=Philip L. |last2=Smith |first2=Alan G. |last3=Zalasiewicz |first3=Jan A. |last4=Barry |first4=Tiffany L. |last5=Cantrill |first5=David |last6=Coe |first6=Angela L. |last7=Cope |first7=John C. W. |last8=Gale |first8=Andrew S. |last9=Gregory |first9=F. John |last10=Powell |first10=John H. |last11=Rawson |first11=Peter F. |last12=Stone |first12=Philip |last13=Waters |first13=Colin N. |title=What status for the Quaternary? |journal=Boreas |date=28 June 2008 |volume=34 |issue=1 |pages=1–6 |doi=10.1111/j.1502-3885.2005.tb01000.x}}</ref>
*แม้กระทั่งก่อนหน้าในประวัติของวิทยาศาสตร์ เทอร์เทียรียังถูกถือเป็น "มหายุค" และมีการแบ่งย่อยของตนด้วย (พาลีโอซีน, อีโอซีน, โอลิโกซีน, ไมโอซีน และ ไพลโอซีน) โดยเรียกการแบ่งย่อยนั้นว่า "ยุค"<ref>See, for example, {{cite journal|jstor=24204747|title=Presidential Address: The Deccan Traps: An Episode of the Tertiary Era|last1=Sahni|first1=B.|journal=Current Science|year=1940|volume=9|issue=1|pages=47–54}}</ref>
 
== ตารางธรณีกาล ==