ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ธรณีกาล"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: ถูกย้อนกลับแล้ว การแก้ไขแบบเห็นภาพ แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: ถูกย้อนกลับแล้ว การแก้ไขแบบเห็นภาพ แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 19:
 
==ศัพทวิทยา==
{{ดูเพิ่มที่|การลำดับชั้นหิน|การลำดับชั้นหินตามอายุกาล|การลำดับชั้นหินตามชีวภาพ|การลำดับชั้นหินตามแม่เหล็ก|การลำดับชั้นหินตามลักษณะหิน|ธรณีกาลวิทยา}}
มาตราธรณีกาลแบ่งออกเป็นหน่วยลำดับชั้นหินตามอายุกาลและหน่วยทางธรณีกาลวิทยาที่สอดคล้องกัน เหล่านี้จะปรากฏอยู่ในแผนภูมิการลำดับชั้นหินตามอายุกาลสากลซึ่งเผยแพร่โดยคณะกรรมาธิการการลำดับชั้นหินสากล ซึ่งยังคงมีการใช้ศัพท์ระดับภูมิภาคอยู่บ้างในบางพื้นที่
 
<em>การลำดับชั้นหินตามอายุกาล</em> เป็นองค์ประกอบของ[[การลำดับชั้นหิน]]ที่เกี่ยวข้องกับความสัมพันธ์ระหว่างหินและการวัดสัมพัทธ์ทางธรณีกาล<ref name="ICS_chronostrat">{{Cite web |title=Chapter 9. Chronostratigraphic Units |url=https://stratigraphy.org/guide/chron |access-date=2022-04-02 |website=stratigraphy.org |publisher=International Commission on Stratigraphy}}</ref> เป็นกระบวนการที่มีการกำหนดชั้นที่แตกต่างระหว่างแนวชั้นทางการลำดับชั้นหินที่ถูกกำหนดไว้ เพื่อแสดงถึงช่วงเวลาสัมพัทธ์ของธรณีกาล
 
<em>หน่วยลำดับชั้นหินตามอายุกาล</em> เป็นตัวหินทั้งแบบเป็นชั้นหรือไม่เป็นชั้น ซึ่งถูกกำหนดไว้ระหว่างแนวชั้นทางการลำดับชั้นหินที่ระบุไว้ ซึ่งแสดงถึงช่วงเวลาในธรณีกาล หินทั้งหมดนั้นรวมขึ้นเป็นตัวแทนของช่วงเวลาที่เจาะจงทางธรณีกาลและเฉพาะช่วงเวลาใดช่วงเวลาหนึ่งเท่านั้น<ref name="ICS_chronostrat"/> โดยมีหินบรมบุค (eonothem) หินมหายุค (erathem) หินยุค (system) หินสมัย (series) หินกึ่งสมัย (subseries) หินช่วงอายุ (stage) และ หินกึ่งช่วงอายุ (substage) เป็นหน่วยตามลำดับของหน่วยลำดับชั้นหินตามอายุกาล<ref name="ICS_chronostrat"/> <em>ธรณีกาลวิทยา</em> เป็นสาขาหนึ่งของธรณีวิทยาที่มีจุดมุ่งหมายในการกำหนดอายุของหิน ซากดึกดำบรรพ์ และ ตะกอน ไม่ว่าจะโดยวิธีสัมบูรณ์ (เช่น [[การหาอายุสัมบูรณ์]]) หรือวิธีสัมพัทธ์ (เช่น [[กฎการซ้อนทับ|ตำแหน่งทางการลำดับชั้นหิน]] [[ภาวะแม่เหล็กบรรพกาล]] [[สัดส่วนไอโซโทปเสถียร]])<ref name="ICS_definitions">{{Cite web |title=Chapter 3. Definitions and Procedures |url=https://stratigraphy.org/guide/defs |access-date=2022-04-02 |website=stratigraphy.org |publisher=International Commission on Stratigraphy}}</ref>
 
<em>หน่วยธรณีกาลวิทยา</em> เป็นการแบ่งย่อยของธรณีกาล เป็นการแสดงตัวเลขของสมบัติที่เป็นนามธรรม (เวลา)<ref name="ICS_definitions" /> โดยมี บรมยุค (eon) มหายุค (era) ยุค (period) สมัย (epoch) กึ่งสมัย (subepoch) ช่วงอายุ (age) และ กึ่งช่วงอายุ (subage) เป็นหน่วยตามลำดับทางธรณีกาลวิทยา<ref name="ICS_chronostrat" /> <em>[[การลำดับเวลาธรณี]]</em> เป็นสาขาหนึ่งของธรณีกาลวิทยาที่คำนวณเวลาทางธรณีกาลออกมาเป็นตัวเลข<ref name="ICS_definitions" />
 
<em>[[จุดและส่วนชั้นหินแบบฉบับขอบเขตทั่วโลก]]</em> (GSSP) เป็นจุดอ้างอิงที่ตกลงกันไว้ในระดับสากลในส่วนการลำดับชั้นหิน ซึ่งเป็นตัวกำหนดขอบล่างของหินช่วงอายุในมาตราธรณีกาล<ref name="ICS_GSSP">{{Cite web |title=Global Boundary Stratotype Section and Points |url=https://stratigraphy.org/gssps/ |access-date=2022-04-02 |website=stratigraphy.org |publisher=International Commission on Stratigraphy}}</ref> (และล่าสุดถูกใช้เพื่อกำหนดฐานของหินยุคด้วย)<ref name="Knoll_2006_Ediacaran">{{Cite journal |last1=Knoll |first1=Andrew |last2=Walter |first2=Malcolm |last3=Narbonne |first3=Guy |last4=Christie-Blick |first4=Nicholas |date=2006 |title=The Ediacaran Period: a new addition to the geologic time scale |url=http://doi.wiley.com/10.1080/00241160500409223 |journal=Lethaia |language=en |volume=39 |issue=1 |pages=13–30 |doi=10.1080/00241160500409223}}</ref>
 
<em>[[การกำหนดอายุลำดับชั้นหินมาตรฐานโลก]]</em> (GSSA)<ref name="Remane_1996_GSSP">{{Cite journal |last1=Remane |first1=Jürgen |last2=Bassett |first2=Michael G |last3=Cowie |first3=John W |last4=Gohrbandt |first4=Klaus H |last5=Lane |first5=H Richard |last6=Michelsen |first6=Olaf |last7=Naiwen |first7=Wang |last8=the cooperation of members of ICS |date=1996-09-01 |title=Revised guidelines for the establishment of global chronostratigraphic standards by the International Commission on Stratigraphy (ICS) |url=http://www.episodes.org/journal/view.html?doi=10.18814/epiiugs/1996/v19i3/007 |journal=Episodes |language=en |volume=19 |issue=3 |pages=77–81 |doi=10.18814/epiiugs/1996/v19i3/007 |issn=0705-3797}}</ref> เป็นจุดอ้างอิงตามลำดับเวลาที่เป็นตัวเลขเท่านั้น ซึ่งใช้ในการกำหนดฐานของหน่วยธรณีกาลวิทยาในช่วงก่อนยุคไครโอเจเนียน โดยจุดเหล่านี้ถูกกำหนดขึ้นโดยไม่มีเกณฑ์ในการคัดเลือกตายตัว<ref name="ICS_chronostrat"/> ใช้ในกรณีที่ยังไม่มีการกำหนด GSSPs ซึ่งปัจจุบันการวิจัยกำลังดำเนินอยู่เพื่อระบุ GSSP สำหรับทุกหน่วยที่ยังคงใช้ GSSA เป็นฐานในปัจจุบัน
 
การแสดงตัวเลข (การวัดเวลาธรณี) ของหน่วยธรณีกาลวิทยาสามารถเปลี่ยนแปลงได้และบางครั้งมีการเปลี่ยนแปลงอย่างบ่อยครั้งเมื่อธรณีกาลวิทยานั้นปรับแต่งการวัดเวลาธรณี ขณะที่หน่วยลำดับชั้นหินตามอายุกาลที่เทียบเท่านั้นจะยังคงเดิม ซึ่งมีการแก้ไขที่น้อยกว่า ตัวอย่างเช่น ต้นปี พ.ศ. 2565 ขอบเขตระหว่าง[[ยุคอีดีแอคารัน]]และ[[ยุคแคมเบรียน]] (หน่วยธรณีกาลวิทยา) ถูกแก้ไขจาก 541 ล้านปีก่อนไปเป็น 538.8 ล้านปีก่อน เว้นแต่หินจำกัดความของขอบเขต (GSSP) ที่ฐานของหินยุคแคมเบรียนนั้นยังคงเดิม ด้วยเหตุนี้ ขอบเขตระหว่าง[[หินยุค]]อีดีแอคารันและหินยุคแคมเบรียน (หน่วยลำดับชั้นหินตามอายุกาล) จึงไม่ได้เปลี่ยนแปลง มีเพียงแต่การวัดเวลาธรณีเท่านั้นที่มีการปรับแก้
 
ค่าตัวเลขบนแผนภูมิ ICC นั้นถูกแสดงอยู่ในหน่วย[[ปี|ล้านปีก่อน]] (megaannum หรือย่อว่า Ma) เช่น ขอบล่างของ[[ยุคจูแรสซิก]]นั้นอยู่ที่ {{Period start|Jurassic}} {{Period start error|Jurassic}} ล้านปีก่อน หมายความว่ายุคจูแรสซิกนั้นมีขอบล่างอยู่ที่ 201,300,000 ปี และมีค่าความไม่แน่นอนอยู่ที่ 200,000 ปี ส่วน[[ระบบหน่วยวัดระหว่างประเทศ|หน่วยเอสไอ]]อี่นที่ใช้กันทั่วไปโดยนักธรณีวิทยา ได้แก่ พันล้านปี (gigaannum หรือย่อว่า Ga) และ พันปีก่อน (kiloannum หรือย่อว่า ka) ซึ่งในภายหลังมักแสดงเป็นหน่วยที่ปรับเทียบแล้ว ([[ก่อนปัจจุบัน]])
 
===การแบ่งย่อยของธรณีกาล===
'''<em>บรมยุค</em>''' (eon) เป็นหน่วยธรณีกาลวิทยาทางการที่ใหญ่ที่สุดและเทียบเท่ากับ[[หินบรมยุค]] (eonothem) ในการลำดับชั้นหินตามอายุกาล<ref name="dictionary_of_geology_2020">{{Cite book |url=https://www.worldcat.org/oclc/1137380460 |title=A dictionary of geology and earth sciences |date=2020 |author=Michael Allaby |isbn=978-0-19-187490-1 |edition=Fifth |location=Oxford |oclc=1137380460}}</ref> ณ เมษายน พ.ศ. 2565 มีบรมยุค/หินบรมยุคทางการที่ถูกกำหนดไว้ทั้งสิ้นสามช่วง ได้แก่ [[บรมยุคอาร์เคียน|อาร์เคียน]] [[บรมยุคโพรเทอโรโซอิก|โพรเทอโรโซอิก]] และ [[บรมยุคฟาเนอโรโซอิก|ฟาเนอโรโซอิก]]<ref name="ICC_Cohen_2013">{{Cite journal|last1=Cohen|first1=K.M.|last2=Finney|first2=S.C.|last3=Gibbard|first3=P.L.|last4=Fan|first4=J.-X.|date=2013-09-01|title=The ICS International Chronostratigraphic Chart|url=http://www.episodes.org/journal/view.html?doi=10.18814/epiiugs/2013/v36i3/002|journal=Episodes|language=en|edition=updated|volume=36|issue=3|pages=199–204|doi=10.18814/epiiugs/2013/v36i3/002|issn=0705-3797}}</ref> ส่วน[[บรมยุคเฮเดียน|เฮเดียน]]เป็นบรมยุค/หินบรมยุคที่ไม่เป็นทางการ แต่เป็นที่นิยมใช้โดยทั่วไป<ref name="dictionary_of_geology_2020" />
 
'''<em>มหายุค</em>''' (era) เป็นหน่วยธรณีกาลวิทยาที่ใหญ่ที่สุดเป็นอันดับที่สองและเทียบเท่ากับ[[หินมหายุค]] (erathem) ในการลำดับชั้นหินตามอายุกาล<ref name="ICS_chronostrat" /><ref name="dictionary_of_geology_2020" /> ณ เมษายน พ.ศ. 2565 มีมหายุค/หินมหายุคทางการที่ถูกกำหนดไว้ทั้งสิ้นสิบช่วง<ref name="ICC_Cohen_2013" />
 
'''<em>ยุค</em>''' (period) เป็นหน่วยธรณีกาลวิทยาที่ใหญ่รองจาก <em>มหายุค</em> แต่เหนือกว่า <em>สมัย</em> เทียบเท่ากับ[[หินยุค]] (system) ในการลำดับชั้นหินตามอายุกาล<ref name="ICS_chronostrat" /><ref name="dictionary_of_geology_2020" />{{As of|2022|April|bare=}} ณ เมษายน พ.ศ. 2565 มีมหายุค/หินมหายุคทางการที่ถูกกำหนดไว้ทั้งสิ้น 22 ช่วง<ref name="ICC_Cohen_2013" /> ยกเว้น 2 กึ่งยุค/หินกึ่งยุคซึ่งใช้เป็นหน่วยของยุค/หินยุค[[ยุคคาร์บอนิเฟอรัส|คาร์บอนิเฟอรัส]]<ref name="ICS_chronostrat" />
 
'''<em>สมัย</em>''' (epoch) เป็นหน่วยธรณีกาลวิทยาที่เล็กที่สุดเป็นอันดับที่สอง อยู่ระหว่าง <em>ยุค</em> และ <em>ช่วงอายุ</em> เทียบเท่ากับ[[หินสมัย]] (series) ในการลำดับชั้นหินตามอายุกาล<ref name="ICS_chronostrat" /><ref name="dictionary_of_geology_2020" /> ณ เมษายน พ.ศ. 2565 มีสมัย/หินสมัยทางการที่ถูกกำหนดไว้ทั้งสิ้น 37 ช่วง กับไม่เป็นทางการอีกทั้งสิ้น 1 ช่วง นอกจากนี้ยังมี 11 กึ่งสมัย (subepoch)/หินกึ่งสมัย (subseries) ซึ่งทั้งหมดอยู่ภายใน[[ยุคนีโอจีน|นีโอจีน]]และ[[ยุคควอเทอร์นารี|ควอเทอร์นารี]]ด้วย<ref name="ICC_Cohen_2013" /> โดยการใช้กึ่งสมัย/หินกึ่งสมัยเป็นอันดับ/หน่วยทางการในการลำดับชั้นหินตามอายุกาลสากลนั้นได้รับการอนุมัติในปี พ.ศ. 2565<ref name="Aubry_2022_subseries">{{Cite journal |last1=Aubry |first1=Marie-Pierre |last2=Piller |first2=Werner E. |last3=Gibbard |first3=Philip L. |last4=Harper |first4=David A. T. |last5=Finney |first5=Stanley C. |date=2022-03-01 |title=Ratification of subseries/subepochs as formal rank/units in international chronostratigraphy |url=http://www.episodes.org/journal/view.html?doi=10.18814/epiiugs/2021/021016 |journal=Episodes |language=en |volume=45 |issue=1 |pages=97–99 |doi=10.18814/epiiugs/2021/021016 |s2cid=240772165 |issn=0705-3797}}</ref>
 
'''<em>ช่วงอายุ</em>''' (age) เป็นหน่วยธรณีกาลวิทยาที่เล็กที่สุด เทียบเท่ากับ[[หินช่วงอายุ]] (stage) ในการลำดับชั้นหินตามอายุกาล<ref name="ICS_chronostrat" /><ref name="dictionary_of_geology_2020" /> ณ เมษายน พ.ศ. 2565 มีช่วงอายุ/หินช่วงอายุทางการที่ถูกกำหนดไว้ทั้งสิ้น 96 ช่วง และไม่เป็นทางการอีก 5 ช่วง<ref name="ICC_Cohen_2013" />
 
<em>รุ่น</em> (chron) เป็นหน่วยการลำดับเวลาธรณีทางการของสิ่งที่ไม่ได้ระบุอันดับ เทียบเท่ากับ[[หินรุ่น]] (chronozone)ในการลำดับชั้นหินตามอายุกาล<ref name="ICS_chronostrat" /> หน่วยต่าง ๆ เหล่านี้สัมพันธ์กับหน่วย[[การลำดับชั้นหินตามแม่เหล็ก]] [[การลำดับชั้นหินตามลักษณะหิน]] หรือ [[การลำดับชั้นหินตามชีวภาพ]] เนื่องจากอ้างอิงตามหน่วยการลำดับชั้นหินหรือลักษณะทางธรณีวิทยาที่ถูกกำหนดไว้ก่อนหน้านี้
 
<em>ตอนต้น</em> (early) และ <em>ตอนปลาย</em> (late) เป็นการแบ่งย่อยที่ถูกใช้ในธรณีวิทยา เทียบเท่ากับ <em>ล่าง</em> (lower) และ <em>บน</em> upper ในการลำดับชั้นหินตามอายุกาล เช่น ยุค[[ยุคไทรแอสซิก|ไทรแอสซิก]]ตอนต้น (Early Triassic Period) ซึ่งเป็นหน่วยธรณีกาลวิทยาจะเสมอด้วย หินยุคไทรแอสซิกล่าง (Lower Triassic Series) อันเป็นหน่วยการลำดับชั้นหินตามอายุกาล
 
ในสาระสำคัญ การกล่าวว่าหินเป็นตัวแทนของหน่วยลำดับชั้นหินตามอายุกาล ที่หน่วยลำดับชั้นหินตามอายุกาลและเวลาที่หินนั้นก่อตัวขึ้นอยู่ในหน่วยธรณีกาลวิทยาเป็นความจริง เช่น หินที่เป็นตัวแทนของหินยุค[[ยุคไซลูเรียน|ไซลูเรียน]] "คือ" หินยุคไซลูเรียนที่ได้เกิดการทับถมตัวขึ้นในระหว่างยุคไซลูเรียน
{| class="wikitable mw-collapsible" style = "margin-left: auto; margin-right: auto; border: none;"
|+ลำดับของหน่วยทางการของมาตราธรณีกาล (ใหญ่ไปเล็ก)
!หน่วยลำดับชั้นหินตามอายุกาล (ชั้นหิน)
!หน่วยธรณีกาลวิทยา (เวลา)
!ช่วงเวลา{{Efn|ช่วงเวลาของหน่วยธรณีกาลนั้นแตกต่างกันอย่างมาก และไม่มีข้อจำกัดด้านตัวเลขเกี่ยวกับเวลาที่สามารถแสดงได้ โดยถูกจำกัดเพียงช่วงเวลาของหน่วยที่มีอันดับสูงกว่าซึ่งหน่วยดังกล่าวอยู่ภายใต้ และขอบเขตด้านการลำดับชั้นหินตามอายุกาลที่กำหนดขึ้นไว้|group=note|name=timespan}}
|-
|หินบรมยุค (Eonothem)
|บรมยุค (Eon)
|หลายร้อยล้านปี
|-
|หินมหายุค (Erathem)
|มหายุค (Era)
|สิบถึงร้อยล้านปี
|-
|หินยุค (System)
|ยุค (Period)
|ล้านถึงสิบล้านปี
|-
|หินสมัย (Series)
|สมัย (Epoch)
|แสนถึงสิบล้านปี
|-
|หินกึ่งสมัย (Subseries)
|กึ่งสมัย (Subepoch)
|พันถึงล้านปี
|-
|หินช่วงอายุ (Stage)
|ช่วงอายุ (Age)
|พันถึงล้านปี
|}
 
ในสาระสำคัญ การกล่าวว่าหินเป็นตัวแทนของหน่วยลำดับชั้นหินตามอายุกาล ที่หน่วยลำดับชั้นหินตามอายุกาลและเวลาที่หินนั้นก่อตัวขึ้นอยู่ในหน่วยธรณีกาลวิทยาเป็นความจริง เช่น หินที่เป็นตัวแทนของหินยุค[[ยุคไซลูเรียน|ไซลูเรียน]] "คือ" หินยุคไซลูเรียนที่ได้เกิดการทับถมตัวขึ้นในระหว่างยุคไซลูเรียน
==การตั้งชื่อธรณีกาล==
ชื่อของหน่วยธรณีกาลถูกกำหนดไว้สำหรับหน่วยลำดับชั้นหินตามอายุกาลที่มีหน่วยธรณีกาลวิทยาอันสอดคล้องกันและใช้ชื่อร่วมกัน เพียงแค่เปลี่ยนคำนำหน้า (เช่น [[หินบรมยุค]]ฟาเนอโรโซอิก เป็น บรมยุคฟาเนอโรโซอิก) ชื่อของหินมหายุคในฟาเนอโรโซอิกนั้น ถูกเลือกให้สะท้อนถึงการเปลี่ยนแปลงที่สำคัญของประวัติศาสตร์สิ่งมีชีวิตบนโลก นั่นคือ [[มหายุคพาลีโอโซอิก|พาลีโอโซอิก]] (สิ่งมีชีวิตเก่า) [[มหายุคมีโซโซอิก|มีโซโซอิก]] (สิ่งมีชีวิตกลาง) และ [[มหายุคซีโนโซอิก|ซีโนโซอิก]] (สิ่งมีชีวิตใหม่) ชื่อของหินยุคมีแหล่งที่มาที่หลากหลาย บางส่วนจะชี้ให้เห็นถึงตำแหน่งทางการลำดับเวลา (เช่น พาลีโอจีน) ขณะที่ชื่ออื่นนั้นถูกตั้งตามแหล่งกำเนิดด้าน[[วิทยาหิน]] (เช่น ครีเทเชียส) [[ภูมิศาสตร์]] (เช่น [[ยุคเพอร์เมียน|เพอร์เมียน]]) หรือเกี่ยวกับชนเผ่า (เช่น [[ยุคออร์โดวิเชียน|ออร์โดวิเชียน]]) หินสมัยและหินกึ่งสมัยส่วนมากที่รู้จักกันในปัจจุบันแล้ว ส่วนมากจะถูกตั้งชื่อตามตำแหน่งภายในหินยุค/หินสมัย (ตอนต้น/ตอนกลาง/ตอนปลาย) อย่างไรก็ตาม คณะกรรมาธิการการลำดับชั้นหินสากลสนับสนุนให้หินสมัยและหินกึ่งสมัยใหม่ทั้งหมดได้รับการตั้งชื่อตามลักษณะทางภูมิศาสตร์ ในบริเวณใกล้เคียงกับ[[ชั้นหินแบบฉบับ]]หรือ[[ที่ตั้งแบบฉบับ]]ของหินสมัยหรือหินกึ่งสมัยนั้น นอกจากนี้ ชื่อของหินช่วงอายุควรมาจากที่มาทางลักษณะทางภูมิศาสตร์ในที่ตั้งแบบฉบับของชั้นหินแบบฉบับของหินช่วงอายุด้วยเช่นกัน<ref name="ICS_chronostrat" />