ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อัศวิน ขวัญเมือง"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
JBot (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนการแก้ไขที่อาจเป็นการทดลอง หรือก่อกวนด้วยบอต ไม่ควรย้อน? แจ้งที่นี่
ป้ายระบุ: ย้อนด้วยมือ
เพิ่มเนื้อหา ในส่วนของผลงานตอนดำรงค์ตำแหน่งผู้ว่า กทม.
ป้ายระบุ: ถูกย้อนกลับแล้ว การแก้ไขแบบเห็นภาพ ลิงก์แก้ความกำกวม
บรรทัด 57:
 
วันที่ 18 ตุลาคม พ.ศ. 2559 พล.ต.อ.อัศวิน ขวัญเมือง ได้รับการแต่งตั้งจาก[[คณะรักษาความสงบแห่งชาติ]] (คสช.) ให้เป็นผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครคนที่ 16 จนถึงวันที่ 24 มีนาคม พ.ศ. 2565 นับได้ว่าเขาเป็นนายตำรวจไทยคนแรกในประวัติศาสตร์ที่ได้ดำรงตำแหน่งนี้<ref>[https://www.sanook.com/men/15597/ ส่องประวัติ "อัศวิน ขวัญเมือง" เจ้าของฉายา "บิ๊กวินปิดจ๊อบ"]</ref> และมีผลงานเปลี่ยนกรุงเทพ ฯ ด้วยนโยบาย "ผลักดันทันใจ แก้ไขทันที" และ "NOW ทำจริง เห็นผลจริง"<ref>[https://www.aroundonline.com/bangkok-news-17/ กทม. สร้างมหานครแห่งความสุข ผู้ว่าฯ ‘อัศวิน’ คลายทุกข์ชาวกรุงผ่านนโยบาย ผลักดันทันใจแก้ไขทันที!]</ref> ในระหว่างที่ดำรงตำแหน่งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร อาทิ สร้างอุโมงค์ระบายน้ำหนองบอน<ref>{{Cite web|date=2021-09-17|title=เช็คแผนก่อสร้าง "อุโมงค์ระบายน้ำ" บึงหนองบอน แก้น้ำท่วม "อ่อนนุช-สุขุมวิท"|url=https://www.bangkokbiznews.com/social/960735|website=bangkokbiznews}}</ref>, สร้างโครงข่ายถนนสายหลักแนวตะวันตก-ตะวันออก, เปิดโรงพยาบาลคลองสามวา เร่งสร้างโรงพยาบาล กทม. ทุกมุมเมือง, สร้างแก้มลิงใต้ดิน Water Bank แก้ปัญหาน้ำท่วมปากซอยสุทธิพร2 / วงเวียนบางเขน และเพิ่ม[[โทรทัศน์วงจรปิด|กล้อง CCTV]] ทั่วกรุง ฯ ติดตั้งใหม่ 20,217 ตัว เป็นต้น<ref>[https://www.innnews.co.th/news/news-general/news_264665/ ผู้ว่าฯอัศวิน โชว์ผลงาน 64 การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นแล้วในกทม.]</ref>
 
== โครงการที่ทำในฐานะผู้ว่า ฯ กทม. ==
• '''“การคมนาคม เปลี่ยนไปแล้ว”''' สำหรับโครงการนี้จะเป็นการเชื่อมโครงข่ายคมนาคม ล้อ ราง เรือ<ref>{{Citation|title=อัศวิน ขวัญเมือง|date=2021-12-31|url=https://th.wikipedia.org/w/index.php?title=%E0%B8%AD%E0%B8%B1%E0%B8%A8%E0%B8%A7%E0%B8%B4%E0%B8%99_%E0%B8%82%E0%B8%A7%E0%B8%B1%E0%B8%8D%E0%B9%80%E0%B8%A1%E0%B8%B7%E0%B8%AD%E0%B8%87&oldid=9833337|work=วิกิพีเดีย|language=th|access-date=2022-04-02}}</ref> โดยเชื่อมต่อการเดินทางจาก[[ปริมณฑล]]เข้ามายังกรุงเทพ ฯ และเชื่อมต่อการเดินทางในกรุงเทพ ฯ เพื่อให้ประชาชนมีทางเลือกในการเดินทาง ทั้งการ[[ขนส่งสาธารณะ]]และ[[เส้นทางคมนาคม]]ที่สะดวกมากขึ้น ด้วยการพัฒนาเส้นทางเดินรถไฟฟ้า 2 สาย (สายสีเขียวและสีทอง) 30 สถานี, เส้นทางเดินเรือโดยสารสาธารณะ 2 เส้นทาง ที่คลองผดุงกรุงเกษม และคลองภาษีเจริญ, โครงข่ายถนนสายหลักตามแนวฝั่งตะวันตก-ตะวันออก (ถนนศรีนครินทร์-ร่มเกล้า) และศาลาที่พักผู้โดยสารรถเมล์และป้ายรถเมล์อัจฉริยะ (Smart Bus Shelter) โครงการดังกล่าวทำให้ประชาชนชาวกรุงเทพ ฯ มีทางเลือกในการเดินทางมากขึ้น แต่ประชาชนส่วนใหญ่ก็ยังคงต้องเผชิญกับปัญหาความแออัดในการเดินทางด้วยขนส่งสาธารณะอยู่เช่นเดิม เนื่องจากกรุงเทพ ฯ เป็นเมืองหลวงที่มีจำนวนประชากรเข้ามาอาศัยอยู่เป็นจำนวนมาก ซึ่งปัญหานี้ยังคงมีมาอย่างต่อเนื่อง
 
• '''“ระบบการระบายน้ำ เปลี่ยนไปแล้ว”''' โครงการที่มุ่งเน้นแก้ไขปัญหาน้ำท่วมใน กทม. โดยใช้วิศวกรรมเชิงโครงสร้าง<ref>{{Citation|title=อัศวิน ขวัญเมือง|date=2021-12-31|url=https://th.wikipedia.org/w/index.php?title=%E0%B8%AD%E0%B8%B1%E0%B8%A8%E0%B8%A7%E0%B8%B4%E0%B8%99_%E0%B8%82%E0%B8%A7%E0%B8%B1%E0%B8%8D%E0%B9%80%E0%B8%A1%E0%B8%B7%E0%B8%AD%E0%B8%87&oldid=9833337|work=วิกิพีเดีย|language=th|access-date=2022-04-02}}</ref> มาเพิ่มประสิทธิภาพการระบายน้ำให้ดีมากขึ้นอย่างต่อเนื่อง ทั้งการก่อสร้างอุโมงค์ระบายน้ำขนาดใหญ่<ref>{{Citation|title=อัศวิน ขวัญเมือง|date=2021-12-31|url=https://th.wikipedia.org/w/index.php?title=%E0%B8%AD%E0%B8%B1%E0%B8%A8%E0%B8%A7%E0%B8%B4%E0%B8%99_%E0%B8%82%E0%B8%A7%E0%B8%B1%E0%B8%8D%E0%B9%80%E0%B8%A1%E0%B8%B7%E0%B8%AD%E0%B8%87&oldid=9833337|work=วิกิพีเดีย|language=th|access-date=2022-04-02}}</ref> เพิ่มเส้นทาง การระบายน้ำที่เสมือนมีแม่น้ำอยู่ใต้ดินและช่วยเพิ่มความเร็วในการระบายออกสู่แม่น้ำเจ้าพระยาได้มากขึ้น, การก่อสร้างท่อเร่งระบายน้ำ (Pipe Jacking)<ref>{{Citation|title=อัศวิน ขวัญเมือง|date=2021-12-31|url=https://th.wikipedia.org/w/index.php?title=%E0%B8%AD%E0%B8%B1%E0%B8%A8%E0%B8%A7%E0%B8%B4%E0%B8%99_%E0%B8%82%E0%B8%A7%E0%B8%B1%E0%B8%8D%E0%B9%80%E0%B8%A1%E0%B8%B7%E0%B8%AD%E0%B8%87&oldid=9833337|work=วิกิพีเดีย|language=th|access-date=2022-04-02}}</ref> เพื่อช่วยเพิ่มท่อการระบายน้ำขนาดใหญ่ที่มีความสามารถในการเร่งระบายน้ำได้มากขึ้น และก่อสร้างพื้นที่รองรับน้ำเพิ่มในพื้นที่ กทม. เพื่อช่วยให้น้ำไม่ท่วมขังในพื้นที่เป็นเวลานาน โดยจัดทำ “แก้มลิง” ทั้งบนดิน และใต้ดินที่เรียกว่า '''“ธนาคารน้ำใต้ดิน” (Water Bank)''' ซึ่งเป็นที่กักเก็บน้ำขนาดใหญ่ใต้ดินที่ช่วยเร่งระบายน้ำที่ท่วมขังได้เร็วขึ้น และมีการสร้างและปรับปรุงสถานีสูบน้ำ ประตูระบายน้ำ บ่อสูบน้ำ และเพิ่มเครื่องสูบน้ำในจุดต่าง ๆ <ref>{{Citation|title=อัศวิน ขวัญเมือง|date=2021-12-31|url=https://th.wikipedia.org/w/index.php?title=%E0%B8%AD%E0%B8%B1%E0%B8%A8%E0%B8%A7%E0%B8%B4%E0%B8%99_%E0%B8%82%E0%B8%A7%E0%B8%B1%E0%B8%8D%E0%B9%80%E0%B8%A1%E0%B8%B7%E0%B8%AD%E0%B8%87&oldid=9833337|work=วิกิพีเดีย|language=th|access-date=2022-04-02}}</ref>เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการระบายน้ำในพื้นที่ให้ดีมากขึ้น โดยได้ก่อสร้างอุโมงค์ระบายน้ำขนาดใหญ่แล้ว 1 แห่งที่คลองบางซื่อ และกำลังก่อสร้างอีก 4 แห่ง, Pipe Jacking มีแล้ว 9 แห่ง เช่น สุขุมวิท 63 (เอกมัย), แยกเกษตรศาสตร์, ถนนสุวินทวงศ์, ถนนศรีอยุธยา, ถนนพระราม 6 กำลังก่อสร้างอีก 3 แห่ง และแก้มลิง 34 แห่ง เช่น ธนาคารใต้ดินบริเวณวงเวียนบางเขน ธนาคารน้ำใต้ดินปากซอยสุทธิพร และแก้มลิงหมู่บ้านสัมมากร  บึงร.1 พัน 2 รอ. บึงน้ำประชานิเวศน์ บึงรางเข้ บึงเสือดำ และมีแผนเดินหน้าพัฒนาแก้ไขปัญหาน้ำท่วมทั้งระบบแบบยั่งยืน<ref>{{Citation|title=อัศวิน ขวัญเมือง|date=2021-12-31|url=https://th.wikipedia.org/w/index.php?title=%E0%B8%AD%E0%B8%B1%E0%B8%A8%E0%B8%A7%E0%B8%B4%E0%B8%99_%E0%B8%82%E0%B8%A7%E0%B8%B1%E0%B8%8D%E0%B9%80%E0%B8%A1%E0%B8%B7%E0%B8%AD%E0%B8%87&oldid=9833337|work=วิกิพีเดีย|language=th|access-date=2022-04-02}}</ref> อย่างไรก็ตามถึงแม้ว่าจะมีการแก้ไขและพัฒนาจัดการปัญหาการระบายน้ำให้ดีขึ้น แต่ก็ปฏิเสธไม่ได้ว่าปัญหาน้ำท่วมนั้นยังคงเป็นปัญหาที่ประชาชนในกรุงเทพ ฯ ยังต้องเผชิญแทบทุกปี ประชาชนยังคงได้รับความเดือดร้อนและความเสียหายจากปัญหานี้กันอย่างต่อเนื่อง และยังคงไม่สามารถแก้ไขปัญหานี้ให้หายไปได
 
== กระแสวิพากษ์วิจารณ์ ==