พิพิธภัณฑ์ประวัติศาสตร์วิทยาศาสตร์
พิพิธภัณฑ์ประวัติศาสตร์วิทยาศาสตร์ (อังกฤษ: The History of Science Museum) ตั้งอยู่บนถนนบรอดสตรีต เมืองออกซฟอร์ด ประเทศอังกฤษ จัดแสดงสิ่งสะสมของเครื่องมือทางวิทยาศาสตร์ตั้งแต่ยุคกลางถึงศตวรรษที่ 19 พิพิธภัณฑ์มีอีกชื่อเรียกว่า อาคารแอชโมเลียนเก่า (อังกฤษ: Old Ashmolean Building) เพื่อให้แตกต่างกับพิพิธภัณฑ์แอชโมเลียนแห่งใหม่ที่สร้างเสร็จในปี ค.ศ. 1894 ถือเป็นพิพิธภัณฑ์ที่สร้างขึ้นโดยเฉพาะที่เก่าแก่ที่สุดในโลกที่ยังคงอยู่
อาคารแอชโมเลียนเก่าในปัจจุบัน | |
ก่อตั้ง | ค.ศ. 1683 (ในชื่อพิพิธภัณฑ์แอชโมเลียน) ค.ศ. 1924 (ในชื่อลิวอิส เอวานส์คอลเลกชัน) ค.ศ. 1935 (ในชื่อพิพิธภัณฑ์ประวัติศาสตร์วิทยาศาสตร์) |
---|---|
ที่ตั้ง | ถนนบรอดสตรีต เมืองออกซฟอร์ด ประเทศอังกฤษ |
พิกัดภูมิศาสตร์ | 51°45′16″N 1°15′19″W / 51.75443°N 1.25519°W |
ประเภท | พิพิธภัณฑ์มหาวิทยาลัยเกี่ยวกับประวัติศาสตร์ของวิทยาศาสตร์ |
จำนวนผู้เยี่ยมชม | 148,412 คน (ค.ศ. 2019)[1] |
ผู้อำนวยการ | Silke Ackermann |
เว็บไซต์ | พิพิธภัณฑ์ประวัติศาสตร์วิทยาศาสตร์ |
ภัณฑารักษ์
แก้ต่อไปนี้รายชื่อภัณฑารักษ์หรือเลขานุการคณะกรรมการหรือผู้อำนวยการพิพิธภัณฑ์:[2][3]
- R. T. Gunther (ค.ศ. 1924–1940)
- F. Sherwood Taylor (ค.ศ. 1940–1945, ชั่วคราว; ค.ศ. 1945–1950)
- C. H. Josten (ค.ศ. 1950–1964; 1964–1994, ภัณฑารักษ์กิตติคุณ)
- F. R. Maddison (ค.ศ. 1964–1994)
- J. A. Bennett (ค.ศ. 1994–2012)
- Stephen Johnston (รักษาการผู้อำนวยการ, ค.ศ. 2012–2014)
- Silke Ackermann (ค.ศ. 2014 เป็นต้นไป)
อ้างอิง
แก้- ↑ "ALVA - Association of Leading Visitor Attractions". www.alva.org.uk. สืบค้นเมื่อ 12 November 2020.
- ↑ Simcock, A. V., บ.ก. (1985). Robert T. Gunther and the Old Ashmolean. Oxford: Museum of the History of Science. p. 93. ISBN 0-903364-04-2.
- ↑ Fox, Robert (January 2006). "The history of science, medicine and technology at Oxford". Notes and Records of the Royal Society. 60 (1): 69–83. doi:10.1098/rsnr.2005.0129. PMID 17153170.
แหล่งข้อมูลอื่น
แก้วิกิมีเดียคอมมอนส์มีสื่อที่เกี่ยวข้องกับ พิพิธภัณฑ์ประวัติศาสตร์วิทยาศาสตร์