ผู้ใช้:Wiranya Tomkrathok/กระบะทราย

ไฟล์:Wiranya.aai.jpg
ชื่อ นางสาววิรัญญา ต่อมกระโทก
ชั้นปีที่ 3 สาขาระบบสารสนเทศ
คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน
อาชีพด้านคอมพิวเตอร์ที่สนใจ นักวิเคาระห์และออกแบบระบบ


สถาปัตยกรรมเครือข่าย

แก้
Layer Name Date Unit Device Group
7 Application Data Gateway User Support
6 Presentation Data - User Support
5 Session Data - User Support
4 Transport Segment - Transport Support
3 Network Packet Router Network Support
2 Date Link Frame Switch Network Support
1 Physical Bit HUB Network Support


ส่วนประกอบเครือข่าย

แก้



 Computer คอมพิวเตอร์ หมายถึง เครื่องคำนวณอิเล็กทรอนิกส์แบบอัตโนมัติที่สามารถทำงานคำนวณผลและเปรียบเทียบค่าตามชุดคำสั่งด้วยความเร็วสูงอย่างต่อเนื่องและอัตโนมัติและยังทำหน้าที่เหมือนสมองกล ใช้สำหรับแก้ปัญหาต่างๆ ทั้งที่ง่ายและซับซ้อย โดยวิธีทางคณิตศาสตร์ คอมพิวเตอร์จึงเป็นเครื่องจักรอิเล็กทรอนิกส์ที่ถูกสร้างขึ้นเพื่อใช้ทำงานแทนมนุษย์ ในด้านการคิด คำนวณและสามารถจำข้อมูล ทั้งตัวเลข และ ตัวอักษรได้เพื่อการเรียกใช้งานในครั้งต่อไป นอกจากนียังสามารถจัดการกับสัญลักษณ์ได้ด้วยความเร็วสูง โดยปฏิบัติตามขั้นตอนของโปรแกรม


  Network interface เป็นวงจรอิเลคโทรนิคมีหน้าที่ทำให้คอมพิวเตอร์ใช้งานกับโครงข่ายได้ และมีความสามารถดำเนินการกับข้อมูลโครงข่ายระดับต่ำ เช่น Network interface controller (NIC) อาจมีตัวต่อเพื่อรับสัญญาณทางเคเบิล หรือทางอากาศ เพื่อการถ่ายทอดหรือรับสัญญาณแบบไร้สาย (Wireless) หรือวงจรที่เกี่ยวข้อง NIC ตอบสนองต่อ Address ที่ส่งมายัง Address ของโครงข่ายโดยรวมใน Ethernet เครื่องควบคุม Network interface แต่ละโครงข่าย มีหมายเลขของ Network card (LAN, Wireless LAN) ซึ่งหมายเลขจะไม่ซ้ำกัน (Media Access Control <MAC> address) ชนิดพิเศษ ซึ่งปกติถูกเก็บไว้ในเครื่องควบคุม (Controller) ของหน่วยความจำถาวร เพื่อป้องกันความสับสนของ address ระหว่างอุปกรณ์โครงข่าย สถาบันวิศวกรรมไฟฟ้าและอิเลคโทรนิค (Institute of Electrical and Electronic Engineers : IEEE) รักษาและบริหารความมีลักษณะเฉพาะของ MAC address ขนาดของ Ethernet MAC address ชุดหนึ่ง = 6 Octet (1 Octet มี 8 บิต) ความสำคัญของ Octet คือการถูกสำรองไว้เพื่อบ่งบอกผู้ผลิต NIC (Network Interface Card) ผู้ผลิตเหล่านี้ต้องใช้คำนำหน้า (Prefix) ที่ถูกกำหนดให้กับ Ethernet interface กับผลิตภัณฑ์ของตนเท่านั้น  www.comentire.com/article/70-network-interface.html


  Operating system ระบบปฏิบัติการ เป็นซอฟต์แวร์ที่เอาไว้ใช้สำหรับควบคุมและประสานงานระหว่างอุปกรณ์ภายในคอมพิวเตอร์ทั้งหมด ตั้งแต่ซีพียู หน่วยความจำ ไปจนถึงส่วนนำเข้าและส่งออกผลลัพธ์ บางครั้งก็นิยมเรียกรวม ๆ ว่า แพลตฟอร์ม (platform ) คอมพิวเตอร์จะทำงานได้จำเป็นต้องมีระบบปฏิบัติการติดตั้งอยู่ในเครื่องเสียก่อน ซึ่งก็ขึ้นอยู่กับบริษัทผู้ผลิตเครื่องนั้น ๆ ว่าจะเลือกใช้แพลตฟอร์ม หรือระบบปฏิบัติการอะไรในการทำงาน 

หน้าที่ของระบบปฏิบัติการ 1.ติดต่อกับผู้ใช้ ( User Interface ) 2.ควบคุมอุปกรณ์ ( ฮาร์ดแวร์ ) 3.จัดสรรทรัพยากร ( Resources Management ) ในระบบให้ทำงานได้อย่างต่อเนื่องและเหมาะสม

 Network device อุปกรณ์เครือข่าย ประกอบด้วย
    - HUB ฮับเป็นอุปกรณ์อิเล็คทรอนิกส์ซึ่งทำหน้าที่เป็นมัลติเพล็กเซอร์เช่นกันแต่ฮับจะนิยมใช้ในระบบเครือข่าย LANเนื่องจากฮับมีราคาถูกกว่าคอนเซนเตรเตอร์ ขนาดของ LAN ที่เหมาะสมกับฮับได้แก่LAN ที่มีผู้ใช้ (User) ประมาณ 6-40 ลูกค่าย
    - SWITCH หรือ สวิตซ์คือ อุปกรณ์ที่ทำหน้าที่ใช้เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์ โดยมี Port ไว้สำหรับเสียบสายLAN ที่ต่อมาจากเครื่องคอมพิวเตอร์เหมือน HUB
    - ROUTER หรือ เราท์เตอร์คือ อุปกรณ์ที่ทำหน้าที่เชื่อมโยงระหว่างเครือข่ายและทำการหาที่อยู่ (Address)ของผู้รับปลายทางและทำการส่งข้อมูลที่รับเข้ามาไปยังผู้รับปลายทาง โดยการอ่านแพ็กเก็ตข้อมูลเพื่อที่จะกำหนดและส่งแพ็กเก็ตต่อไป
    - Gateway เกตเวย์ เป็นอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์อีกอย่างหนึ่งที่ช่วยในการสื่อสารข้อมูล คอมพิวเตอร์หน้าที่หลักคือช่วยให้เครือข่ายคอมพิวเตอร์  2 เครือข่ายหรือมากกว่า ซึ่งมีลักษณะไม่เหมือนกันสามารถติดต่อสื่อสารกันได้เหมือนเป็นเครือข่ายเดียวกัน
    - firewall ไฟร์วอลล์คือซอฟต์แวร์หรือฮาร์ดแวร์ในระบบเครือข่าย ซอฟต์แวร์หรือฮาร์ดแวร์ในระบบเครือข่าย หน้าที่ของไฟร์วอลล์คือเป็นตัวกรองข้อมูลสื่อสาร โดยการกำหนดกฎและระเบียบมาบังคับใช้โดยเฉพาะเรื่องของการดูแลระบบเครือข่าย โดยความผิดพลาดของการปรับแต่งอาจส่งผลทำให้ไฟล์วอลล์มีช่องโหว่ และนำไปสู่สาเหตุของการโจรกรรมข้อมูลคอมพิวเตอร์ได้

สายสัญาณ

แก้
      สายโคแอ็กซ์เชียล(coaxial cable) เป็นสายสัญญาณที่ใช้เป็นสื่อกลางการเดินทางของข้อมูลในระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์(computer network) เป็นสายสัญญาณประเภทแรกที่ใช้และเป็นที่นิยมมากในระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์สมัยแรกๆ แต่ในปัจจุบันเครือข่ายส่วนใหญ่จะใช้สายสัญญาณอีกประเภทหนึ่ง คือ สายคู่เกลียวบิดและสายใยแก้วนำแสง ส่วนสายโคแอ็กซ์เชียลถือว่าเป็นสายที่ล้าสมัยสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ในปัจจุบัน อย่างไรก็ตามยังมีระบบเครือข่ายบางประเภทที่ใช้สายแบบนี้อยู่
สายคู่บิดเกลียว ลักษณะของสายคู่บิดเกลียวจะประกอบด้วยสายทองแดง ที่หุ้มด้วยฉนวนป้องกันที่มีหลากสี และนำมาถักกันเป็นเกลียวคู่ จำนวนรอบของการถักเกลียวต่อหนึ่งหน่วความยาว จะเรียกว่า Twist Ratio ทั้งนี้ยิ่งมีรอบถักเกลียวหนาแน่นเท่าไร จะช่วยลดสัญญาณรบกวนได้ดีขึ้น ทำให้การส่งข้อมมูลมีคุณภาพดี
สายใยแก้วนำแสง เป็นสายที่มีลักษณะโปร่งแสง มีรูปทรงกระบอก ภายในตัน ขนาดประมาณเส้นผมของมนุษย์แต่มีขนาดเล็กกว่าโดยมีเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 125 ไมครอน เส้นใยแก้วนำแสงจะเป็นแก้วบริสุทธิ์นำวัตถุดิบมาจากทราย และปนด้วยสารบางอย่าง เพื่อให้แก้งมีค่าดัชนีหักเหของแสงตามต้องการ

รูปแบบการเชื่อมต่อเครือข่าย

แก้
    Peer-to-Peer เป็นเครือข่ายแบบเสมอภาค จะไม่มีคอมพิวเตอร์เครื่องใดครื่องหนึ่งทำหน้าที่เป็นศูนย์บริการโดยเฉพาะ คอมพิวเตอร์ทุกเครื่องบนเครือข่ายประเภทนี้จะมีสิทธิ์เท่าเทียมกัน โดยสามารถเป็นได้ทั้งเซิต์ฟเวอร์และเครื่องลูกข่ายในขณะเดียวกัน
Client Server เป็นเครือข่ายที่มีเครื่องคอมพิวเตอร์ทำหน้าที่เป็นศูนย์บริการข้อมูลโดยเฉพาะ เครื่องมักมีประสิทธิภาพสูงเพราะต้องคอยบรืการทรัพยากรให้กับเครื่องลูกข่ายที่ร้องขอเข้ามาอยู่ตลอดเวลา เหมาะสมกับระบบเครือข่ายที่ต้องการเชื่อมต่อสถานีหรือเครื่องลูกข่ายจำนวนมาก

LAN Technology

แก้
    BUS TOPOLOGY โทโพโลยีแบบบัส จะมีสายเคเบิลเส้นหนึ่งที่นำมาใช้เป็นสายแกนหลักที่เปรียบเสมือนเป็นกระดูกสันหลัน โดยทุกๆโหนดบนเครือข่ายจะต้องเชื่อมต่อเข้ากับสายเส้นนี้
STAR TOPOLOGY โทโพโลยีแบบดาว จะมีอุปกรณ์ฮับที่เป็นศุนย์กลางควบคุมของสายสื่อสารทั้งหมด โดยทุกๆโหนดบนเครือข่ายจะต้องเชื่อมโยงสายสื่อสารผ่านฮับ
RING TOPOLOGY โทโพโลยีแบบวงแหวน โหนดต่างๆจจะมีการเชื่อมต่อด้วยสายสัญญาณจสกโหนดหนึ่งไปยังโหนดหนึ่งตาอมลำดับ จนกระทั่งโหนดแรกและโหนดสุดท้ายได้เชื่อมโยงถึงกัน จึงทำให้แลดูเป็นวงแหวนขึ้นมา
MESH TOPOLOGY โทโพโลยีแบบเมช เป็นเครือข่ายที่เชื่อมต่อแบบจุดต่อจุดอย่างแท้จริง ซึ่งแต่ละโหนดจะมีลิงก์สื่อสารระหว่างกันเป็นของตนเอง การเชื่อมต่อด้วยวิธีนี้ จะสิ้นเปลืองสายสื่อสารมากที่สุดในกลุ่ม

WAN Technology

แก้
    Circuit Switching เทคนิคในการสื่อสารข้อมูลจากจุดหนึ่งไปอีกจุดหนึ่ง เมื่อมีการเชื่อมต่อกันแล้วจะติดต่อกันได้ตลอดเวลา ผู้อื่นจะแทรกเข้ามาไม่ได้เลย จนกว่าฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งจะปลดวงจรออก
Packet Switching เทคนิคในการแบ่งข้อมูลออกเป็นกลุ่ม แต่ละกลุ่มจะมีความยาวเท่ากัน (ปกติ100บิต) ข้อมูลจะหาทิศทางเดินไปได้เอง โดยที่สายหนึ่งๆจะสามารถใช้กันได้หลายคน เมื่อถึงที่ปลายทางข้อมูลก็จะกลับไปรวมกันเอง

IP ADDRESS

แก้
    คลาสของหมายเลขไอพี รูปแบบของคลาสที่ใช้งานมีอยู่ 5 คลาสด้วยกัน คือ คลาส A,B,C,D และ E

คลาส A สามารถมีจำนวนเครือข่าย 126 เครือข่าย และมีจำนวนโฮสต์เชื่อมต่อกันมากถึง 16,777,214 โฮสต์ โดยคลาส A มีจำนวนเครือข่ายน้อย แต่มีโฮสต์เชื่อมต่อมาก
คลาส B สามารถมีจำนวนเครือข่าย 16,382 เครือข่าย และมีจำนวนโฮสต์เชื่อมต่อ 65,534 โฮสต์ โดยคลาส B มีจำนวนเครือข่ายปานกลาง แต่มีโฮสต์เชื่อมต่อปานกลาง
คลาส C สามารถมีจำนวนเครือข่ายกว่า 2,097,150 เครือข่าย และมีจำนวนโฮสต์เชื่อมต่อสูงสุดเพียง 254 โฮสต์ โดยคลาส C มีจำนวนเครือข่ายมาก แต่มีโฮสต์เชื่อมต่อน้อย
คลาส D จะไม่มีการกำหนดหมายเลขเครือข่าย และถูกสงวนไว้สำหรับเป็นมัลติคลาสต์แอดเดรส
คลาส E ไม่ได้ถูกนำมาใช้งาน โดยสงานไว้ใช้ในอนาคต

    Subnet การแบ่งซับเน็ตทำให้สามารถใช้งานแอดเดรสได้อย่างมีประสิทธิภาพ และการทำซับเน็ตมาสก์ก็จะทำควบคู่กันไปกับการทำซับเน็ต  ซับเน็ตมาสก์ เป็นกระบวนการที่บอกให้รู้ว่าเครือข่ายที่ใช้งานอยู่นั้นมีการแบ่งเป็นซับเน็ต มีบิตที่ยืมไปเพื่อดำเนินการแบ่งซับเน็ตจำนวนกี่บิต และใช้ตำแหน่งใดเพื่อระบุเป็นหมายเลขเครือข่ายย่อย
Private IP คอมพิวเตอร์ที่ถูกเชื่อมต่อเป็นเครือข่ายแลน เพื่อใช้งานตามบ้านหรือบริษัทต่างๆ จะถูกกำหนดหมายเลขไอพี โดยผู้ดูแลระบบนั้นๆ
Public IP ทุกครั้งที่เราเชทื่อมต่ออินเตอร์เน็ต เครื่องของเราจะถูกกำหนดหมายเลขไอพีแอดเดรส จากเครื่องเซิร์ฟเวอร์ของผู้ให้บริการอินเตอร์เน็ตที่เราใช้งานอยู่ โดยแต่ละครั้งที่เชื่อมต่อจะได้หมายเลขไอพีที่ไม่ซ้ำกัน

Routing Protocol

แก้
    หลักการทำงานของเร้าท์เตอร์  คือการหาเส้นทางในการส่งผ่านข้อมูลที่ดีที่สุด และเป็นตัวกลางในการส่งต่อข้อมูลไปยังเครือข่ายอื่น โดยเร้าท์เตอร์จะทำการเชื่อมต่อเข้ากับสองเส้นทางหรือมากกว่าจากเครือข่ายที่แตกต่างกัน และเมื่อแพ็กเก็ตข้อมูลเข้ามาจากเส้นทางหนึ่งเร้าท์เตอร์ก็จะทำการอ่านข้อมูล address ที่อยู่ในแพ็กเก็ตเพื่อค้นหาปลายทางสุดท้ายจากนั้นการหาเส้นทางในการส่งผ่านข้อมูลที่ดีที่สุด แล้วทำการสร้างตารางเส้นทาง (Router Table) ขึ้นมาเก็บไว้บนตัวเร้าท์เตอร์เอง จากนั้นเร้าท์เตอร์ก็จะส่งแพ็กเก็ตข้อมูลไปยังเครือข่ายข้างหน้าตามเส้นทางนั้นที่เก็บไว้
เร้าท์ติ้งเทเบิล เป็นตารางข้อมูลของเส้นทางการส่งผ่านข้อมูลเพื่อใช้พิจารณาการส่งผ่านข้อมูลซึ่งในการได้มาของ Routing Table มีอยู่ด้วยกัน 2 วิธี คือ Static route และ Dynamic route
Static Routing Protocol คือ การเพิ่มเส้นทางใน routing table ด้วยผู้ดูแลเน็ตเวิร์คเพื่อบอกให้เร้าท์เตอร์ทราบว่าเพื่อต้องการจะส่งข้อมูลไปที่ Subnet Address ใดจะต้องส่งผ่าน Router ตัวไหน ค่าที่ถูกป้อนเข้าไปในตารางเลือกเส้นทางนี้มีค่าที่ตายตัว
Dynamic Routing Protocol เป็นการใช้ซอฟต์แวร์ที่ติดตั้งมากับ Router เพื่อทำหน้าที่แลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารที่เกี่ยวกับการเลือกเส้นทางระหว่าง Router จะส่ง routing table ที่สมบูรณ์ของตัวเองให้กับ Router เพื่อนบ้าน เรียกว่ามร Routing Protocol ที่ใช้ในการแลกเปลี่ยน routing table โดยที่ผู้ดูแลเครือข่ายไม่ต้องแก้ไขข้อมูล routing table ใน router เลย เหมาะสำหรับเครือข่ายขนาดใหญ่

อ้างอิง

แก้

http://www.krumontree.com/ebook4/files/pg7_9.htm
http://nooplemonic.exteen.com/20090706/circuit-switching-packet-switching
http://29052534.blogspot.com/2013/05/public-ip-private-ip.html