โอโซนเป็นก๊ษซที่เกิดจากปฏิกิริยาทางเคมีเนื่องจากทำให้โมเลกุลออกซิเจนแตกตัวให้ออกซิเจนอะตอมในสภาวะเร้า โอโซนที่พบส้วนใหญ่ประมาณ 10 อยู่ในชั้นโทรโปสเฟียร์ ซึ่งโอโซนในชั้นบรรยากาศที่แตกต่างกันนี้ ในบรรยากาศชั้นสตราโตสเฟียร์โอโซนจะทำหน้าที่ปกป้องรังสีจากดวงอาทิตย์ ไม่ให้แสงอุลตราไวโอเลตมาทำอันตรายต่อสิ่งมีชีวิตบนโลก แต่โอนโซนในระดับผิมพื้นหรือโทรโปสเฟีบร์นี้ กลับเป็นสาเหตุของการระคายเคืองต่อปอด ทำลายพืชผัก และเป็นตัวกระตุ้นในการเกิดมลพิษทางอากาศอื่นๆ แสดงขั้นตอนการเกิด และสลายของโอโซนในชั้นบรรยากาศ โฟตอน h√ < 242 nm 1.O  O O + O โมเลกุลออกซิเจน ออกซิเจนอะตอมที่มีพลังงานสูง รังสีอุลตราไวโอเลตที่มีความยาวคลื่นสั้นน้อยกว่า 242 นาโนเมตร ทำให้ออกซิเจนในโฒลกุลชั้นสตราโตสเฟียร์แตกตัวออก เป็นออกซิเจนอะตอมที่มีพลังงานสูง 2. O + ​------- M ​ + M ออกซิเจนอะตอม (มีพลังงานต่ำ) โอโซน (มีพลังงานสูง) ​M คือโมลเลกุลที่มีพลังงานต่ำ เช่น ​ออกซิเจนอะตอมจะจับกับออกซิเจนโมลเลกุลอื่น เกิดโมเลกุลที่มี 3 อะตอม นั้นคือโอโซน เนื่องจากออกซิเจนอะตอมนี้มีพลังงานสูงมาก จึงต้องมีโมเลกุลอื่นที่พลังงานส่วนที่เกิดออกไป (M) มิฉะนั้นโมเลกุลของโอโซนจะสลายไปเร็วพอๆกับการเกิด โมเลกุลอื่น (M) ที่มารับพลังงานส่วนที่เกินในบรรยากาศ มักได้แก่ไนโตรเจนและออกซิเจน 3. โฟตอน h√ < (200-320 nm)


​​O + ​​

                 โอโซน              ออกซิเจนอะตอม  ออกซิเจนโมเลกุล

​โอโซนสามารถดูดซับรังสีจากดวงอาทิตย์ ในชาวงอุลตราไวโอเลตบี ที่ความยาวช่วงคลื่น 200 -300 นาโนเมตร แล้วแตกตัวเป็นออกซิเจนอะตอม กับออกซิเจนโมเลกุล O + +​​ ออกซิเจนอะตอม โอโซน ออกซิเจนโมเลกุล และออกซิเจนอะตอมนี้อาจจะชนกับโมเลกุลของโอโซน เกิดโมเลกุลออกซิเจน 2 โมเลกุลขึ้นมาได้ --110.164.170.1 10:35, 13 มีนาคม 2558 (ICT)

รูปที่ 3.6 แสดงการดูดซุบรังสีจากดวงอาทิตย์ด้วยก๊าซโอโซน ในบรรยากาศชั้นสตราโตสเฟียร์ ในธรรมชาติพบว่าโอโซนมีความเสถียรน้อยกว่าออกซิเจน ในสภาวะที่สมดุลจึงพบโอโซนน้อยกว่า 1 ใน ส่วนของออกซิเจนในบรรยากาศ



อ๊อกไซด์ของไนโตรเจน (NOy) ปฏิกิริยาเคมีในบรรยากาศจะเกี่ยวข้องกับกรดในสภาวะที่ออกซิได มีความเกี่ยวข้องกับสุขภาพของมนุษย์ ความสัมพันธ์ในระบบนิเวศ สมดุลของกาลอากาศ โดยเฉพาะชั้นโทรโปสเฟียร์ ไนโตรเจนที่ว่องไวจะเป็นหัวใจสำคัญของปฏิกิริยาเคมี ไนโตรเจนที่ว่องไว ได้แก่ กลุ่ม (NOx )คือ ไนตริกออกไซด์(NO) และไนโตรเจนไดออกไซด์ (NO2) แหล่งผลิต NOy ในบรรยากาศชั้นโทรโปสเฟียร์ NOy ส่วนใหญ่เกิดจากการกระทำของมนุษย์โดยตรง ซึ่งต่างจากโอนโซน ส่วนใหญ่เกิดขึ้นเอง หรือเกิดจากมลพิษตัวอื่นทำปฏิกิริยาให้โอโซน แหล่งผลิตสำคัญของ NOy ปลดปล่อยในรูปของ NOx คือ ไนโตรเจนออกไซด์ (NO) และไนโตรเจนไดออกไซด์ (NO2) เกิดจากการเผาไหม้ ฟ้าผ่า และกลไกของสิ่งมีชีวิต การเผาไหม้ เป็นแหล่งผลิตที่ใหญ่ที่สุด เกิดจากการเผาไหม้ของเชื้อเพลิง เช่น พวกน้ำมันถ่านหิน ฯลฯ ปริมาณ NOx เข้าสู้บรรยากาศถึงปีละ 100 ล้านเมตริกตัน การเผาไหม้เชื้อเพลิงทางชีวภาพบางฤดูกาล ชาวไร่ชาวนาใช้เป็นหนึ่งในขั้นตอนการเพาะปลูก เป็นส่วนที่เพิ่มปริมาณ NOx ฟ้าผ่า ปริมาณที่เกิดขึ้นจากแหล่งกำเนิด ไม่สามารถคำนวณออกมาเป็นตัวเลขได้ ดิน ได้จากกระบวนการของสิ่งมีชีวิตและไม่มีชีวิต ทั้งหมดที่ปล่อยออกมา คือ NO จากกระบวนการไนตริไฟอิ้ง (Nitrifying Process) และ ดีไนตริไฟอิ้ง (Denitrifying Process) กระบวนการของสิ่งไม่มีชีวิตในดินเรียก เคโมดีไนตริฟิเคชั่น (Chemodenitrification) ขึ้นกับอุณหภูมิ ความชื้น และปริมาณไนโตรเจนที่มีอยู่ในดิน

ปฏิกิริยาออกซิเดชั่นของแอมโมเนีย ให้ NOx ได้พร้อมกับมีการสลาย NOx ทำให้ไม่สามารถทราบปริมาณที่แท้จริงได้ มหาสมุทรและทะเล ให้ปริมาณ NOx เพียงเล็กน้อย กระบวนการโฟโตไลติก(Photolytic) ที่เปลี่ยน NO2- เป็น NO บรรยากาศชั้นสตราโตสเฟียร์ จากกระบวนการของ N2O กับ O(1D) ผสมระหว่างบรรยากาศสตราโตสเฟียร์ และโทรโปสเฟียร์ กับช่วงชีวิตของ NOx เปลี่ยนเป็นกรดไนตริก(HNO3) การแลกเปลี่ยน NOy ชั้นสตราโตส