ปืนโอเวน ซึ่งเป็นที่รู้จักอย่างเป็นทางการว่า โอเวน แมทชีน คาร์ไบน์ เป็นปืนกลมือสัญชาติออสเตรเลียที่ถูกออกแบบโดย Evelyn (Evo) Owen ในปี ค.ศ. 1939 ปืนโอเวนเป็นปืนที่ถูกออกแบบโดยชาวออสเตรเลียเพียงคนเดียวและสร้างขึ้นมาเพื่อใช้งานเป็นปืนกลมือในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง และถูกใช้งานโดยกองทัพออสเตรเลีย ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1943 จนถึงช่วงกลางปี ค.ศ. 1960

ปืนโอเวน
The final design of the Owen machine carbine gun
ชนิดปืนกลมือ
แหล่งกำเนิดออสเตรเลีย
บทบาท
ประจำการ1942–1960s
ผู้ใช้งานSee Users
สงคราม
ประวัติการผลิต
ผู้ออกแบบLieutenant Evelyn Owen[1]
ช่วงการออกแบบ1931–1939
บริษัทผู้ผลิตLysaght’s Works[1]
ช่วงการผลิต1942–1944
จำนวนที่ผลิต45,000[1]
ข้อมูลจำเพาะ
มวล4.23 kg (9.33 lb) without magazine[1]
4.86 kg (10.7 lb) loaded[1]
ความยาว813 mm (32.0 in)[1]
ความยาวลำกล้อง250 mm (9.84 in)[1]

กระสุน9×19mm Parabellum
การทำงานblowback, open bolt
อัตราการยิง700 rounds/min[1]
ความเร็วปากกระบอก366 m/s (1,200 ft/s)[1]
ระยะหวังผล123 เมตร (135 หลา)
พิสัยไกลสุด200 เมตร (220 หลา)[1]
ระบบป้อนกระสุน33-round detachable magazine
ศูนย์เล็งIron sights

ผู้ใช้ แก้

อ้างอิง แก้

  1. 1.00 1.01 1.02 1.03 1.04 1.05 1.06 1.07 1.08 1.09 Archer, Dennis (1977). Jane's Infantry Weapons 1977. p. 67. ISBN 978-0-354-00549-4.
  2. McNab, Chris (2002). 20th Century Military Uniforms (2nd ed.). Kent: Grange Books. ISBN 978-1-84013-476-6.
  3. "Australia's adversaries: Relations with Indonesia during the confrontation". anzacportal.dva.gov.au. Department of Veterans' Affairs. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 4 August 2017.
  4. Scarlata, Paul (20 April 2009). "Small Arms of the Koninlijk Nederlands-Indisch Leger, Part 2". Shotgun News.
  5. "Owen submachine gun". collections.tepapa.govt.nz. Museum of New Zealand Te Papa Tongarewa.
  6. Small Arms (Museum exhibit), Saxonwold, Johannesburg: South African National Museum of Military History, 2012[ต้องการแหล่งอ้างอิงดีกว่านี้]
  7. "The Malyan Emergency 1948-1960". iwm.org.uk.