ประชาธิปัตย์ 66
ประชาธิปัตย์ 66 (ดัตช์: Democraten 66 หรือย่อเป็น D66) เป็นพรรคการเมืองฝ่ายสังคมนิยมเสรีในประเทศเนเธอร์แลนด์[7][8][9][10] ตัวเลข 66 มาจากปีที่ก่อตั้งคือ ค.ศ. 1966 โดยกลุ่มปัญญาชนรุ่นเยาว์ นำโดยฮันส์ ฟัน เมียร์โล นักข่าวรุ่นใหม่ มีจุดประสงค์หลักคือต้องการเปลี่ยนแปลงระบบการเมืองให้มีความเป็นประชาธิปไตยมากขึ้น
ประชาธิปัตย์ 66 Democraten 66 | |
---|---|
ชื่อย่อ | D66 |
ผู้ก่อตั้ง | ฮันส์ ฟัน เมียร์โล ฮันส์ เคราเติร์ส |
ประธาน | อันเนอ-มารี สเปียริงส์ |
หัวหน้า | ว่าง [Note] |
ผู้นำในคณะรัฐมนตรี | เวาเตอร์ โกลเมส [รักษาการ] |
ผู้นำในวุฒิสภา | อันเนอลีน เบรเดโนร์ด |
ผู้นำในสภาผู้แทนราษฎร | โรบ เย็ตเติน |
ผู้นำในรัฐสภายุโรป | โซฟี อินต์ เฟ็ลด์ |
ก่อตั้ง | 14 ตุลาคม ค.ศ. 1966 |
ที่ทำการ | Partijbureau D66 Hoge Nieuwstraat 30 เดอะเฮก |
ฝ่ายเยาวชน | เยาวชนประชาธิปัตย์ |
สมาชิกภาพ (ปี 2020) | 24,955[1] |
อุดมการณ์ | สังคมนิยมเสรี เสรีนิยม[2] สหพันธ์ยุโรปนิยม[3] หัวก้าวหน้า[4][5] |
จุดยืน | ด้านงบประมาณ: กลาง[3] to กลางขวา[6] ด้านสังคม: กลางซ้าย[6] |
สี | เขียว |
สภาผู้แทนราษฏร | 19 / 150 |
วุฒิสภา | 7 / 75 |
ข้าหลวงในพระมหากษัตริย์ | 1 / 12 |
สภาจังหวัด | 40 / 570 |
รัฐสภายุโรป | 2 / 29 |
เว็บไซต์ | |
www | |
การเมืองเนเธอร์แลนด์ รายชื่อพรรคการเมือง การเลือกตั้ง |
อ้างอิง
แก้- ↑ "Forum voor Democratie qua ledental de grootste partij van Nederland" (PDF). Documentatiecentrum Nederlandse Politieke Partijen (ภาษาดัตช์). สืบค้นเมื่อ 27 January 2020.
- ↑ Nordsieck, Wolfram (2017). "Netherlands". Parties and Elections in Europe. สืบค้นเมื่อ 4 August 2018.
- ↑ 3.0 3.1 Terry, Chris (11 May 2014). "Democrats '66 (D66)". The Democratic Society. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2020-04-10. สืบค้นเมื่อ 2020-04-15.
- ↑ Ricky Van Oers; Eva Ersbøoll; Theodora Kostakopoulou (2010). A Re-definition of Belonging?: Language and Integration Tests in Europe. BRILL. p. 60. ISBN 978-90-04-17506-8.
- ↑ Colin Hay; Anand Menon (18 January 2007). European Politics. Oxford University Press. OUP Oxford. p. 91. ISBN 978-0-199284-28-3.
progressive Democrats 66.
- ↑ 6.0 6.1 Weaver, Matthew (16 March 2017). "Dutch elections: Rutte starts coalition talks after beating Wilders into second – as it happened". The Guardian. สืบค้นเมื่อ 30 March 2019.
- ↑ Vít Hloušek; Lubomír Kopeček (2010). Origin, Ideology and Transformation of Political Parties: East-Central and Western Europe Compared. Ashgate Publishing, Ltd. pp. 108–109. ISBN 978-0-7546-9661-2. สืบค้นเมื่อ 14 July 2013.
- ↑ Dimitri Almeida (2012). The Impact of European Integration on Political Parties: Beyond the Permissive Consensus. Routledge. p. 98. ISBN 978-0-415-69374-5.
- ↑ Stefaan Fiers; André Krouwel (2007). "The Low Countries: From Prime Minister to President-Minister". ใน Thomas Poguntke; Paul Webb (บ.ก.). The Presidentialization of Politics: A Comparative Study of Modern Democracies. Oxford University Press. p. 158. ISBN 978-0-19-921849-3. สืบค้นเมื่อ 24 August 2012.
- ↑ Simon Lightfoot (2005). Europeanizing Social Democracy?: The Rise of the Party of European Socialists. Routledge. p. 74. ISBN 978-0-415-34803-4. สืบค้นเมื่อ 14 July 2013.