ปฏิบัติการเวเซอร์อือบุง

ปฏิบัติการเวเซอร์อือบุง (เยอรมัน: Unternehmen Weserübung) เป็นรหัสนามจากเยอรมนีในการโจมตีเดนมาร์กและนอร์เวย์ในช่วงสงครามโลกครั้งที่สองและเป็นเปิดปฏิบัติการของการทัพนอร์เวย์ ชื่อรหัสนามนั้นมาจากภาษาเยอรมันสำหรับปฏิบัติการเวเซอร์-เอ็กเซอร์ไซส์, เวเซอร์เป็นชื่อของแม่น้ำเยอรมัน

ปฏิบัติการเวเซอร์อือบุง
ส่วนหนึ่งของ การทัพนอร์เวย์ในสงครามโลกครั้งที่สอง

หมุนไปตามนาฬิกาจากด้านบน: กองกำลังเยอรมันได้บุกเข้าใกล้ Bagn ใน Valdres,สมเด็จพระราชาธิบดีโฮกุนที่ 7และมกุฎราชกุมารโอลาฟขณะทรงหาที่หลบภัยภายใต้ต้นเบิร์ชในระหว่างการโจมตีทิ้งระเบิดของเยอรมันที่มอลเด, เยอรมันได้ทำการทิ้งระเบิดลงที่ป้อมปราการชายฝั่ง Oscarsborg, ทหารภูเขาเยอรมัน Gebirgsjäger ใกล้กับนาร์วิก, และปืนใหญ่นอร์เวย์กำลังปฏิบัติการรบใกล้กับนาร์วิก.
วันที่9 เมษายน ค.ศ. 1940 - 10 มิถุนายน ค.ศ. 1940 (2 เดือน, และ 1 วัน)
สถานที่
ผล

เยอรมันชนะ

คู่สงคราม
ผู้บังคับบัญชาและผู้นำ
กำลัง
  • 9 divisions
  • 1 artillery battalion
  • 1 motorized rifle brigade
  • Total: 120,000
  • Norway: 6 divisions: ~60,000
  • Denmark: 2 divisions: ~14,500
  • Allies ~35,000
  • Total: ~109,500
ความสูญเสีย
  • Heer:
  • Kriegsmarine:
  • 1 heavy cruiser
  • 2 light cruisers
  • 10 destroyers
  • various U-boats, transports and smaller warships
  • Luftwaffe: 1,130 air crew
  • 341 KIA
  • 448 MIA[1]
  • Total:
  • 5,636 KIA or MIA
  • 341 WIA
  • Royal Norwegian Navy & Army:
  • 1,335 KIA
  • ? MIA
  • Denmark:
  • 26 KIA and 23 WIA[2]
  • Allies:
  • 4,765 KIA
  • Total:
  • 6,116 KIA

ในช่วงเช้าวันที่ 9 เมษายน ค.ศ. 1940 (Wesertag; "Weser Day") เยอรมนีได้บุกเข้ายึดครองเดนมาร์กและนอร์เวย์ซึ่งเป็นยุทธวิธีในการป้องกันในการวางแผน และเปิดประชุมหารือว่า ฝรั่งเศสและอังกฤษได้เข้ายึดนอร์เวย์ ภายหลังการบุกครอง นักการทูตเยอรมันได้แจ้งต่อรัฐบาลเดนมาร์กและนอร์เวย์ว่า ทางกองทัพแวร์มัคท์ได้เข้าเพื่อปกป้องความเป็นกลางของประเทศเพื่อต่อต้านฝรั่งเศสและอังกฤษ ความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางภูมิศาสตร์ สถานที่ และสภาพอากาศระหว่างทั้งสองประเทศทำให้การปฏิบัติการทางทหารที่เกิดขึ้นจริงนั้นไม่เหมือนกัน

เวลาในการยกพลขึ้นเพื่อบุกเข้ายึดครอง—Weserzeit ("Weser Time") ถูกกำหนดเป็นเวลา 05:15 นาฬิกา

อ้างอิง

แก้
  1. Hooton 2007, p. 43.
  2. Zabecki 2014, p. 323.