จักรพรรดิการินุส
มาร์กุส เอาเรลิอุส การินุส (สวรรคตในปี ค.ศ. 285) เป็นจักรพรรดิแห่งโรมันตั้งแต่ปี ค.ศ. 283 จนถึง ค.ศ. 285 เป็นพระราชโอรสพระองค์โตของจักรพรรดิคารุส พระองค์ทรงได้รับการแต่งตั้งเป็นไกซาร์ก่อน และตามมาด้วยตำแหน่งออกุสตุสในช่วงต้นปี ค.ศ. 283 พระองค์ทรงได้รับแต่งตั้งให้เป็นจักรพรรดิร่วมของส่วนตะวันตกของจักรวรรดิโดยพระราชบิดา[3] เรื่องเล่าหลักที่เกี่ยวกับลักษณะและอาชีพของพระองค์ ซึ่งแสดงให้เห็นว่าพระองค์ทรงเป็นจักรพรรดิที่เสื่อมทรามและไร้ความสามารถ โดยได้ถูกกลั่นกรองผ่านการเผยแพร่ของคู่แข่งทางการเมืองที่ประสบความสำเร็จอย่างจักรพรรดิดิออเกลติอานุส
การินุส | |||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
รูปสลักของจักรพรรดิการินุส | |||||||||
จักรพรรดิโรมัน | |||||||||
ครองราชย์ | ฤดูใบไม้พลิในปี ค.ศ. 283 – กรกฎาคม ค.ศ. 285 | ||||||||
ก่อนหน้า | การุส | ||||||||
ถัดไป | ออเกลติอานุส (ในการแข่งขันทางการเมืองกับจักรพรรดิคารินุสตั้งแต่ ค.ศ. 284) | ||||||||
จักรพรรดิร่วม | การุส (ค.ศ. 283) นุเมริอานุส (ค.ศ. 283 – ค.ศ. 284) | ||||||||
สวรรคต | กรกฎาคม ค.ศ. 285 แม่น้ำมาร์กุส, มอยเซีย | ||||||||
พระราชบุตร | นิกรินิอานุส (ยังคงเป็นที่ถกเถียง, อาจจะทรงรับเลี้ยงเป็นพระโอรสบุญธรรม) | ||||||||
| |||||||||
พระราชบิดา | การุส |
อ้างอิง
แก้- ↑ Jones, A. H. M.; Martindale, J. R.; Morris, J. (1971). The Prosopography of the Later Roman Empire Volume 1: A.D. 260–395. Cambridge University Press. p. 181. ISBN 0-521-07233-6.
- ↑ Cooley, Alison E. (2012). The Cambridge Manual of Latin Epigraphy. Cambridge University Press. p. 501. ISBN 978-0-521-84026-2.
- ↑ ประโยคหรือส่วนของบทความก่อนหน้านี้ ประกอบด้วยข้อความจากสิ่งพิมพ์ซึ่งปัจจุบันเป็นสาธารณสมบัติ: Chisholm, Hugh, บ.ก. (1911). . สารานุกรมบริตานิกา ค.ศ. 1911. Vol. 5 (11 ed.). สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเคมบริดจ์. p. 337.