จริยธรรม (อังกฤษ: Ethics) หรือ ปรัชญาคุณธรรม (moral philosophy) เป็นสาขาหนึ่ง[1] ของปรัชญาที่ "ประกอบด้วยการจัดระบบ, ปกป้อง และแนะนำแนวคิดของการกระทำที่ถูกหรือผิด"[2] ในมุมมองของจริยศาสตร์ ควบคู่ไปกับสุนทรียศาสตร์ ศึกษาและอยู่กับประเด็นของคุณค่า (value) จึงรวมกันเกิดเป็นสาขาการศึกษาใหม่ที่เรียกว่า สมุฏฐานวิทยาทางปรัชญา[3]

สามสาขาหลักที่ได้รับการยอมรับในจริยศาสตร์ในปัจจุบันได้แก่:[2]

  1. อภิจริยศาสตร์ (Meta-ethics) ศึกษาเกี่ยวกับความหมายเชิงทฤษฎีและการอ้างถึงการวางตัวทางศีลธรรม และการนิยามคุณค่าของสัจจะนั้นจะทำได้อย่างไร
  2. จริยศาสตร์เชิงบรรทัดฐาน (Normative ethics) ศึกษาเกี่ยวกับมุมมองเชิงปฏิบัติของการประเมินการกระทำที่ทำไปเพื่อเป้าหมายทางจริยธรรม
  3. จริยศาสตร์ประยุกต์ (Applied ethics) ศึกษาเกี่ยวกับสิ่งที่บุคคลหนึ่ง ๆ ทำด้วยเป็นภาระหน้าที่ (หรือได้รับอนุญาต) ทำในสถานการณ์เฉพาะหรือในชุดการกระทำเฉพาะหนึ่ง[2]

อ้างอิง แก้

  1. Verst, Ludger Kampmann, Susanne Eilers, Franz-Josef (2015-07-27). Die Literaturrundschau. Communicatio Socialis. OCLC 914511982.{{cite book}}: CS1 maint: multiple names: authors list (ลิงก์)
  2. 2.0 2.1 2.2 Internet Encyclopedia of Philosophy "Ethics"
  3. Random House Unabridged Dictionary: Entry on Axiology.