ความน่ารับประทาน

ความน่ารับประทาน (อังกฤษ: palatability หรือ palatableness) เป็นรางวัลแห่งความเพลิดเพลินใจ (ในที่นี้หมายถึงความเพลิดเพลินใจในรสชาติ) ที่ได้รับจากอาหารหรือของเหลวซึ่งความรู้สึกในการรับรสยอมรับ ความน่ารับประทานมักมีความแตกต่างกันไปโดยสัมพันธ์กับความพึงพอใจทางภาวะธำรงดุลของความต้องการทา่งโภชนาการ น้ำ และพลังงาน[1] ความน่ารับประทานของอาหารหรือของเหลวขึ้นกับสภาวะของแต่ละบุคคล แตกต่างจากรสชาติหรือการรับรู้รส ความน่าประทานลดลงหลังกิน และเพิ่มขึ่้นเมื่อหิว ความน่ารับประทานได้รับการเล็งเห็นว่าสามารถสร้างความหิวขึ้นโดยไม่ขึ้นกับความต้องการทางภาวะธำรงดุล[2]

โฆษณาของน้ำมันละหุ่งในฐานะยาโดยบริษัทสก็อตต์และบาวน์, ศตวรรษที่ 19

ดูเพิ่ม

แก้

อ้างอิง

แก้
  1. Friedman, Mark I.; Stricker, Edward M. (1976). "The physiological psychology of hunger: A physiological perspective". Psychological Review (ภาษาอังกฤษ). 83 (6): 409–431. doi:10.1037/0033-295X.83.6.409. ISSN 1939-1471. PMID 1005583.
  2. Lowe, Michael R.; Butryn, Meghan L. (2007-07-24). "Hedonic hunger: A new dimension of appetite?". Physiology & Behavior. 91 (4): 432–439. doi:10.1016/j.physbeh.2007.04.006. ISSN 0031-9384. PMID 17531274. S2CID 10704679.