การเขียนโปรแกรมเชิงฟังก์ชัน
บทความนี้ต้องการการจัดหน้า จัดหมวดหมู่ ใส่ลิงก์ภายใน หรือเก็บกวาดเนื้อหา ให้มีคุณภาพดีขึ้น คุณสามารถปรับปรุงแก้ไขบทความนี้ได้ และนำป้ายออก พิจารณาใช้ป้ายข้อความอื่นเพื่อชี้ชัดข้อบกพร่อง |
ในวิทยาการคอมพิวเตอร์ การเขียนโปรแกรมเชิงฟังก์ชันเป็นกระบวนทัศน์การเขียนโปรแกรมที่รูปแบบการสร้างโครงสร้างและส่วนประกอบของโปรแกรมคอมพิวเตอร์ซึ่งปฏิบัติต่อการคำนวณว่าเป็นการประเมินผลฟังก์ชันทางคณิตศาสตร์และหลีกเลี่ยงการเปลี่ยนแปลงสถานะและข้อมูลที่เปลี่ยนแปลงได้ โดยเป็นกระบวนทัศน์การเขียนโปรแกรมเชิงประกาศซึ่งหมายความ[1]หรือการประกาศ[2]แทนข้อความสั่ง ในโปรแกรมเชิงฟังก์ชัน ค่าผลลัพธ์ของฟังก์ชันขึ้นอยู่กับ[ อาร์กิวเมนต์]ที่นำเข้าสู่ฟังก์ชันเท่านั้น ดังนั้นการเรียกฟังก์ชัน f สองครั้งด้วยค่าอาร์กิวเมนต์ x เดียวกันจะให้ค่าผลลัพธ์ f(x) เท่ากันทุกครั้ง การกำจัดผลข้างเคียง ได้แก่ การเปลี่ยนแปลงสถานะที่ไม่ขึ้นกับสิ่งที่นำเข้าฟังก์ชัน สามารถทำให้ง่ายขึ้นที่จะทำความเข้าใจและพยากรณ์พฤฒิกรรมของโปรแกรมซึ่งเป็นหนึ่งในแรงจูงใจของการพัฒนาของการเขียนโปรแกรมเชิงฟังก์ชัน
การเขียนโปรแกรมเชิงฟังก์ชันมีรากฐานมาจากแคลคูลัสแลมบ์ดาซึ่งเป็นระบบรูปนัยที่พัฒนาในคริสต์ทศวรรษ 1930 เพื่อค้นEntscheidungsproblem นิยามของฟังก์ชัน การประยุกต์ฟังก์ชัน และการเรียกซ้ำ ภาษาการใส่รายละเอียดเพิ่มจากแคลคูลัสแลมบ์ดา กระบวนทัศน์การเขียนโปรแกรมเชิงประกาศที่เป็นที่รู้จักอื่น ๆ การเขียนโปรแกรมเชิงตรรกะ มีพื้นฐานอยู่บนความสัมพันธ์เชิงตรรกะ[3]
ในกลับโปรแกรมเชิงคำสั่งเปลี่ยนสถานะด้วยคำสั่งในภาษาต้นทาง ตัวอย่างที่ง่ายที่สุดคือการกำหนดค่า การเขียนโปรแกรมเชิงคำสั่งไม่มีฟังก์ชันในความหมายแบบคณิตศาสตร์แต่มีในความหมายแบบซับรูทีน ซึ่งมีผลข้างเคียงที่อาจะเปลี่ยนค่าของสถานะของโปรแกรมได้ ฟังก์ชันที่ไม่คืนค่าจึงสมเหตุสมผลเพราะขาดความโปร่งใสในการอ้างอิง ได้แก่นิพจน์เดียวกันทางภาษาสามารถให้ผลลัพธ์ที่มีค่าต่างกันได้ในเวลาที่ต่างกันขึ้นกับสถานะของโปรแกรมที่กำลังกระทำการ[3]
ภาษาโปรแกรมเชิงฟังก์ชันโดยเฉพาะภาษาโปรแกรมเชิงฟังก์ชันบริสุทธิ เช่น ภาษาโฮปถูกในความสำคัญในวงการวิชาการมากกว่าในการพัฒนาซอฟต์แวร์เชิงพาณิชย์ อย่างไรก็ตามภาษาโปรแกรมที่มีชื่อเสียงซึ่งสนับสนุนการเขียนโปรแกรมเชิงฟังก์ชัน เช่น ภาษาคอมมอนลิสป์ ภาษา Scheme[4][5][6][7] ภาษา Clojure[8][9] ภาษา Wolfram[10] (หรือ ภาษา Mathematica) ภาษา Racket[11] ภาษาเออร์แลง[12][13][14] ภาษา OCaml[15][16] ภาษา Haskell[17][18] และภาษาเอฟชาร์ป[19][20] ใช้ในโปรแกรมประยุกต์เชิงอุตสาหกรรมและเชิงพาณิชย์โดยองค์กรอย่างกว้างขวาง การเขียนโปรแกรมเชิงฟังก์ชันยังได้รับการรองรับในภาษาเขียนโปรแกรมเฉพาะทางบางภาษา เช่น ภาษาอาร์ (สถิติ)[21] ภาษาเจ ภาษาเค และภาษาคิวจาก Kx Systems (การวิเคราะห์ทางการคลัง) XQuery/XSLT (เอกซ์เอ็มแอล)[22][23] และภาษาโอปอล[24] ภาษาเชิงประกาศเฉพาะทางที่ใช้งานอย่างกว้างขวางเช่น ภาษาสอบถามเชิงโครงสร้าง และ Lex/Yacc ใช้บางส่วนประกอบของการเขียนโปรแกรมเชิงฟังก์ชันโดยเฉพาะใน eschewing วัตถุที่เปลี่ยนแปลงได้.[25]
การเขียนโปรแกรมเชิงฟังก์ชันสามารถทำได้ในภาษาที่ไม่ได้ออกมาเฉพาะสำหรับการเขียนโปรแกรมเชิงฟังก์ชัน ตัวอย่างเช่น ภาษาเพิร์ลซึ่งเป็นภาษาโปรแกรมเชิงคำสั่งมีบทหนึ่งของหนังสือที่อธิบายว่าประยุกต์แนวคิดการเขียนโปรแกรมเชิงฟังก์ชันอย่างไร[26] นี้ยังเป็นจริงสำหรับภาษาพีเอชพี[27] C++11, ภาษาจาวา 8 และภาษาซีชาร์ป 3.0 ภาษาจูเลียก็เสนอความสามารถการเขียนโปรแกรมเชิงฟังก์ชันเช่นกัน กรณีที่น่าสนใจคือภาษาสกาลา[28] – มักเขียนในเชิงฟังก์ชัน แต่ก็มีการแสดงตนของผลข้างเคียงและสถานะที่เปลี่ยนแปลงได้ ซึ่งทำให้จัดอยู่ในบริเวณสีเทาระหว่างภาษาเชิงคำสั่งและเชิงฟังก์ชัน
อ้างอิง
แก้- ↑ "Declaration vs. expression style - HaskellWiki".
- ↑ "Declaration vs. expression style - HaskellWiki".
- ↑ 3.0 3.1 Hudak, Paul (September 1989). "Conception, evolution, and application of functional programming languages" (PDF). ACM Computing Surveys. 21 (3): 359–411. doi:10.1145/72551.72554. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2016-01-31. สืบค้นเมื่อ 2017-01-01.
- ↑ Clinger, Will (1987). "MultiTasking and MacScheme". MacTech. 3 (12). สืบค้นเมื่อ 2008-08-28.
- ↑ Hartheimer, Anne (1987). "Programming a Text Editor in MacScheme+Toolsmith". MacTech. 3 (1). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2011-06-29. สืบค้นเมื่อ 2008-08-28.
- ↑ Kidd, Eric. Terrorism Response Training in Scheme. CUFP 2007. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2010-12-21. สืบค้นเมื่อ 2009-08-26.
- ↑ Cleis, Richard. Scheme in Space. CUFP 2006. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2010-05-27. สืบค้นเมื่อ 2009-08-26.
- ↑ "The useR! 2006 conference schedule includes papers on the commercial use of R". R-project.org. 2006-06-08. สืบค้นเมื่อ 2011-06-20.
- ↑ Chambers, John M. (1998). Programming with Data: A Guide to the S Language. Springer Verlag. pp. 67–70. ISBN 978-0-387-98503-9.
- ↑ "Wolfram Language Guide: Functional Programming". 2015. สืบค้นเมื่อ 2015-08-24.
- ↑ "State-Based Scripting in Uncharted 2" (PDF). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2012-12-15. สืบค้นเมื่อ 2011-08-08.
- ↑ "Who uses Erlang for product development?". Frequently asked questions about Erlang. สืบค้นเมื่อ 2007-08-05.
- ↑ Armstrong, Joe (June 2007). A history of Erlang. Third ACM SIGPLAN Conference on History of Programming Languages. San Diego, California. สืบค้นเมื่อ 2009-08-29.
- ↑ Larson, Jim (March 2009). "Erlang for concurrent programming". Communications of the ACM. 52 (3): 48. doi:10.1145/1467247.1467263.
- ↑ Minsky, Yaron; Weeks, Stephen (July 2008). "Caml Trading — experiences with functional programming on Wall Street". Journal of Functional Programming. Cambridge University Press. 18 (4): 553–564. doi:10.1017/S095679680800676X. สืบค้นเมื่อ 2008-08-27.
- ↑ Leroy, Xavier. Some uses of Caml in Industry (PDF). CUFP 2007. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2011-10-08. สืบค้นเมื่อ 2009-08-26.
- ↑ "Haskell in industry". Haskell Wiki. สืบค้นเมื่อ 2009-08-26.
Haskell has a diverse range of use commercially, from aerospace and defense, to finance, to web startups, hardware design firms and lawnmower manufacturers.
- ↑ Hudak, Paul; Hughes, J.; Jones, S. P.; Wadler, P. (June 2007). A history of Haskell: being lazy with class. Third ACM SIGPLAN Conference on History of Programming Languages. San Diego, California. doi:10.1145/1238844.1238856. สืบค้นเมื่อ 2013-09-26.
- ↑ Mansell, Howard (2008). Quantitative Finance in F#. CUFP 2008. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2015-07-08. สืบค้นเมื่อ 2009-08-29.
- ↑ Peake, Alex (2009). The First Substantial Line of Business Application in F#. CUFP 2009. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2009-10-17. สืบค้นเมื่อ 2009-08-29.
- ↑ Department of Applied Math, University of Colorado. "Functional vs. Procedural Programming Language". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2007-11-13. สืบค้นเมื่อ 2006-08-28.
- ↑ Dimitre Novatchev. "The Functional Programming Language XSLT — A proof through examples". TopXML. สืบค้นเมื่อ May 27, 2006.
- ↑ David Mertz. "XML Programming Paradigms (part four): Functional Programming approached to XML processing". IBM developerWorks. สืบค้นเมื่อ May 27, 2006.
- ↑ OPtimized Applicative Language
- ↑ Donald D. Chamberlin and Raymond F. Boyce (1974). "SEQUEL: A structured English query language". Proceedings of the 1974 ACM SIGFIDET: 249–264.
- ↑ Dominus, Mark J. (2005). Higher-Order Perl. Morgan Kaufmann. ISBN 1-55860-701-3.
- ↑ Holywell, Simon (2014). Functional Programming in PHP. php[architect]. ISBN 9781940111056.
- ↑ "Effective Scala". Scala Wiki. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2012-06-19. สืบค้นเมื่อ 2012-02-21.
Effective Scala.
<ref>
ด้วยชื่อ "racket-video-games" ที่นิยามในกลุ่ม <references>
ไม่มีเนื้อหา