การล้อมบาเลร์  (1 กรกฎาคม ค.ศ. 1898 – 2 มิถุนายน ค.ศ. 1899) เป็นการต่อสู้ของขบวนการปฏิวัติฟิลิปปินส์ควบกับสงครามสเปน-อเมริกัน โดยขบวนการปฏิวัติฟิลิปปินส์วางกำลังล้อมโบสถ์ในอาณานิคมสเปนในเมืองบาเลร์ ประเทศฟิลิปินส์เป็นเวลา 11 เดือนหรือ 337 วัน

การล้อมบาเลร์
ส่วนหนึ่งของ การปฏิวัติฟิลิปปินส์ สงครามสเปน–อเมริกา และสงครามฟิลิปปินส์–อเมริกา

กองทัพฟิลิปปินส์นำโดยพันเอกเตกซอนในบาเลร์ พฤษภาคม 1899 เตกซอนอยู่ด้านขวาของปืนใหญ่ในขณะที่โนบิซิโออยู่ด้านซ้าย[1]: 25 
วันที่1 กรกฎาคม 1898 – 2 มิถุนายน 1899
สถานที่
ผล

ฟิลิปปินส์เป็นฝ่ายชนะ[2]

  • Baler held beyond official cessation of hostilities and cession of Philippine Islands;
  • Failure of American relief efforts;
  • Negotiated armistice after the surrender of the Spanish troops
คู่สงคราม
 Philippine Republic จักรวรรดิสเปน  สหรัฐ
ผู้บังคับบัญชาและผู้นำ
เตโอโดริโก โนบิซิโอ ลูนา
ซิริโล โกเมซ ออร์ติซ 
กาลิกซ์โต บิยากอร์ตา
อันโตนิโอ ซันโตส
ซิมอน โอกัมโป เตกซอน
เนเมซิโอ บาร์โตโลเม
ฟรันซิสโก เต. ปอนเซ
เอนริเก เด ลัส โมเรนัส อี ฟอสซิ 
ฆวน อาลอนโซ ซายัส 
ซาตูร์นิโน มาร์ติน เซเรโซ
โรเฆลิโอ บิฆิล
เจมส์ กิลมอร์
กำลัง
800 [1]: 19  50 infantry
1 officer
3 priests[1]: 112 
15 sailors
1 cutter[1]: 52 
ความสูญเสีย
not defined
700 (Spanish claimed)[ต้องการอ้างอิง]
15 dead from disease
2 dead from wounds
2 executed
2 deserted[1]: 112 
5 killed
10 captured[1]: 306 

สงครามจบลงในเดือนธันวาคม ค.ศ. 1898 เพราะการยอมจำนนของสเปนและการผนวกฟิลิปปินส์ของสหรัฐอเมริกา เพราะตัดขาดจากการติดต่อสื่อสารกับรัฐบาลของตัวเอง กองทัพสเปนดำเนินการป้องกันชาวฟิลิปปินส์จนกระทั่ง ค.ศ. 1899

เหตุการณ์นี้เป็นที่รู้จักเนื่องจากเป็นกองกำลังสุดท้ายของสเปนในอดีตอาณานิคมฟิลิปปินส์

ผู้รอดชีวิตจากบาเลร์พวกเขามาถึงในบาร์เซโลนา

อ้างอิง แก้

  1. 1.0 1.1 1.2 1.3 1.4 1.5 Westfall, M., 2012, The Devil's Causeway, Guilford: Lyons Press, ISBN 9780762780297
  2. 6th Philippine-Spanish Friendship Day