การคุกคาม
การคุกคาม เป็นพฤติกรรมต่าง ๆ ที่น่ารังเกียจและทำให้ความหวาดกลัว[1] ส่วนมากแล้วการคุกคามจะมีลักษณะเป็นการดูหมิ่นเหยียดหยามหรือทำให้ผู้อื่นอับอาย ส่วนในทางกฎหมายจะมีลักษณะเป็นการก่อกวน สร้างความไม่พอใจ ความไม่สบายใจและการข่มขู่ การคุกคามยังการเลือกปฎิบัติเพื่อทำให้บุคคลอื่น ๆ เสียสิทธิประโยชน์ของบุคคลของตน หากมีการคุกคามบ่อยครั้งจะเป็นการยกระดับไปสู่การข่มเหงรังแก
ชนิด
แก้อิเล็กทรอนิกส์
แก้เป็นทฤษฎีสมคบคิดที่ว่ารัฐบาลจะเป็นทำการทรมาน โจมตีและคุกคามเป้าหมายด้วยคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าหรือการทรมานทางจิตโดยใช้รังสีแม่เหล็กไฟฟ้าหรืออาวุธคลื่นอิเล็คโทรแมคเนติก[2][3] ยกตัวอย่างเช่น นักจิทวิยาหลายคนได้เสนอหลักฐานการใช้คนที่มีอาการประสาทหลอนทางการได้ยิน โรคหลงผิด[4]หรือความผิดปกติทางจิตอื่น ๆ เพื่อทำลายชื่อเสียงเป้าหมายบนชุมชนออนไลน์[2][5]
โลกออนไลน์
แก้เป็นการคุกคามโดยใช้คำหยาบ การดูถูกและความคิดเห็นเชิงลบต่อเป้าหมาย เช่นพูดดูถูกสำเนียงภาษา เชื้อชาติ เพศ ศาสนาของเป้าหมายซึ่งมักเกิดขึ้นในห้องสนทนาออนไลน์ นอกจากนี้ยังมีการนำรูปภาพส่วนตัว รูปครอบครัวของเหยือไปโพสต์บนโซเชียลมีเดียเพื่อให้เกิดความอับอายและเกิดความทุกข์
ตำรวจ
แก้คือการที่ตำรวจหรือผู้บังคับใช้กฎหมายปฏิบัติอย่างไม่เป็นธรรมต่อเหยื่อโดยการใช้กำลังเกิดกว่าเหตุ การบังคับขู่เข็ญ เหยียดสีผิวเชื้อชาติและเพศหรื่ออื่น ๆ ที่ดูเหมือนเป็นการเลือกปฏิบัติ
เชื้อชาติ
แก้เป็นการคุกคามบุคคลที่มีเชื้อชาติต่างจากตน โดนอาจจะเป็นการคุกคามในเชิงเหยีดหนือแสดงท่าทางที่ทำให้ผุ้ถูกคุกคามรู้สึกอาย
ศาสนา
แก้เป็นการคุกคามบุคคลที่มีความเชื้อและศาสนาต่างจากตนเอง การคุกคามแบบนี้อาจรวมถึงการบังคับให้พูดโดยไม่สมัครใจ
เพศ
แก้ลักษณะเป็นการแสดงพฤติกรรมที่ไม่ดีทั้งกายและวาจาต่อเพศของเหยื่อ การคุกคามเช่นนี้เกิดขึ้นได้ทุกที่ แต่มักเกิดขึ้นในที่ทำงาน โรงเรียน และกองทัพ ซึ่งส่วนมากแล้วมักเกิดขึ้นกับผู้หญิงมากกว่าผู้ชาย[8][9]
อ้างอิง
แก้- ↑ พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554
- ↑ 2.0 2.1 Weinberger, Sharon (January 14, 2007). "Mind Games". Washington Post. สืบค้นเมื่อ 12 January 2014.
- ↑ Kershaw, Sarah (November 12, 2008). "Sharing Their Demons on the Web". The New York Times.
- ↑ Monroe, Angela (November 12, 2012). "Electronic Harassment: Voices in My Mind". KMIR News. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ February 13, 2014. สืบค้นเมื่อ 2014-02-25.
- ↑ Olga Pochechueva. EMR Deliberately Directed At You — Moscow: LOOM Publishing, 2015 (in Russian). — 30 p. — ISBN 978-5-906072-09-2
- ↑ Hertz, M. F.; David-Ferdon, C. (2008). Electronic Media and Youth Violence: A CDC Issue Brief for Educators and Caregivers (PDF). Atlanta (GA): Centers for Disease Control. p. 9. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2018-09-26. สืบค้นเมื่อ 2015-02-03.
- ↑ Ybarra, Michele L.; Diener-West, Marie; Leaf, Philip J. (December 2007). "Examining the overlap in internet harassment and school bullying: implications for school intervention". Journal of Adolescent Health. 41 (6 Suppl 1): S42–S50. doi:10.1016/j.jadohealth.2007.09.004. PMID 18047944.
- ↑ Maeve Duggan. PEW Research Center. 2014. "Online Harassment". "http://www.pewinternet.org/2014/10/22/online-harassment/".
- ↑ "EEOC Home Page". www.eeoc.gov. สืบค้นเมื่อ 2016-04-29.