กองทุนการเงินระหว่างประเทศ

กองทุนการเงินระหว่างประเทศ (อังกฤษ: International Monetary Fund) หรือ ไอเอ็มเอฟ (IMF) เป็นองค์กรที่รัฐบาลของกลุ่มประเทศพันธมิตรได้ร่วมก่อตั้งขึ้น มีฐานะเป็นทบวงการชำนาญพิเศษของสหประชาชาติ โดยมีข้อบังคับว่าประเทศที่จะเป็นสมาชิกธนาคารโลก และจะต้องเป็นสมาชิกของ IMF ด้วย เริ่มเปิดดำเนินการในเดือนมีนาคม ค.ศ. 1947 ประเทศที่สมัครเป็นสมาชิกกองทุนการเงินฯ จะต้องเป็นสมาชิกขององค์การสหประชาชาติอยู่ก่อนแล้ว ในปัจจุบันมีสมาชิก 190 ประเทศ (ประเทศอันดอร์รา (Andorra) เป็นสมาชิกอันดับที่ 190 เข้าร่วมเมื่อวันที่ 16 ตุลาคม ค.ศ. 2020)

กองทุนการเงินระหว่างประเทศ
International Monetary Fund logo.svg
ตราอาร์มของกองทุนการเงินระหว่างประเทศ
ชื่อย่อIMF
ก่อตั้ง27 ธันวาคม 1945; 77 ปีก่อน (1945-12-27)
ประเภทInternational financial institution
วัตถุประสงค์Promote international monetary co-operation, ส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศ, foster sustainable economic growth, make resources available to members experiencing balance of payments difficulties[1]
สํานักงานใหญ่วอชิงตัน ดี.ซี. สหรัฐ
ที่ตั้ง
พิกัด38°53′56″N 77°2′39″W / 38.89889°N 77.04417°W / 38.89889; -77.04417พิกัดภูมิศาสตร์: 38°53′56″N 77°2′39″W / 38.89889°N 77.04417°W / 38.89889; -77.04417
ภูมิภาค
ทั่วโลก
สมาชิก
190 ประเทศ [2]
ภาษาทางการ
อังกฤษ[1]
กรรมการผู้จัดการ
Kristalina Georgieva
หัวหน้านักเศรษฐศาสตร์
Gita Gopinath[3]
องค์กรแม่
คณะกรรมการบริษัท
องค์กรปกครอง
สหประชาชาติ[4][5]
พนักงาน
2,400[1]
เว็บไซต์www.imf.org

ดูเพิ่มแก้ไข

อ้างอิงแก้ไข

  1. 1.0 1.1 1.2 Boughton 2001, p. 7 n.5.
  2. "IMF Members' Quotas and Voting Power, and IMF Board of Governors". IMF (ภาษาอังกฤษ). สืบค้นเมื่อ 8 April 2023.
  3. "Christine Lagarde Appoints Gita Gopinath as IMF Chief Economist".
  4. "Factsheet: The IMF and the World Bank". IMF. 21 September 2015. สืบค้นเมื่อ 1 December 2015.
  5. "About the IMF Overview". www.imf.org. สืบค้นเมื่อ 1 August 2017.

แหล่งข้อมูลอื่นแก้ไข