โบโดนี (Bodoni) เป็นชื่อของไทป์เฟซแบบมีเชิงซึ่งออกแบบครั้งแรกโดยจัมบัตติสตา โบโดนี (1740–1813) ในช่วงปลายศตวรรษที่ 18 และได้รับการสร้างขึ้นมาใหม่อยู่เรื่อย ๆ ตั้งแต่นั้นเป็นต้นมา[1][2] ไทป์เฟซของโบโดนีจัดอยู่ในประเภทดีโดนี หรือบางครั้งก็เรียกว่าสมัยใหม่ โบโดนีนั้นสร้างขึ้นตามหลักการของจอห์น บาสเกอร์วิลล์ ดังที่พบในไทป์เฟซบาสเกอร์วิลล์ ซึ่งเพิ่มความแตกต่างระหว่างเส้นหนากับเส้นบาง ซึ่งสะท้อนถึงการพัฒนาเทคโนโลยีการพิมพ์และแกนแนวตั้งที่มากขึ้น แต่เขาได้นำแนวคิดนี้มาปรับใช้ให้สุดโต่งยิ่งขึ้น โบโดนีมีอาชีพการงานมาอย่างยาวนาน การออกแบบของเขาเปลี่ยนไปและหลากหลาย สุดท้ายกาลายมาเป็นไทป์เฟซที่มีโครงสร้างบีบอัดเล็กน้อยพร้อมเชิงที่แบนและไม่มีวงเล็บ ความแตกต่างอย่างมากระหว่างเส้นหนาและบาง และโครงสร้างโดยรวมที่มีความเป็นเรขาคณิต[3]

สำเนา (facsimile) ของ "ลาวีตานูโอวา" โดยดันเต อาลีกีเอรี ซึ่งตีพิมพ์ครั้งแรกโดย Officina Bodoni ด้วยไทป์เฟซโบโดนีในปี 1925 ฟอนต์ที่ใช้จริงคือ Bodoni Monotype ซึ่งเป็นฟอนต์ดิจิทัลที่เผยแพร่ในปี 1999

การนำไปใช้

แก้
 
โลโก้ของซาราใช้ฟอนต์โบโดนี

หมายเหตุ

แก้
  1. Lawson, Alexander (1990). Anatomy of a Typeface (1st ed.). Boston: Godine. pp. 196–208. ISBN 9780879233334.
  2. "Bodoni". Fonts.com.
  3. Arntson, A. (1988). Graphic design basics. New York: Holt, Rinehart, and Winston, p.92.
  4. "Posters, Signposting & Calendars". Linotype.com. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2006-06-30. สืบค้นเมื่อ 2013-04-15.
  5. "Nirvana Font". Font Meme.
  6. "Logo My Way".

อ้างอิง

แก้
  • Carter, Rob, Ben Day, and Philip Meggs. Typographic Design: Form and Communication. John Wiley & Sons, Inc: 1993. ISBN.
  • Dodd, Robin. From Gutenberg to Opentype. Hartley & Marks Publishers, Inc.: 2006. ISBN.
  • Friedl, Friedrich, Nicholas Ott, and Bernard Ott. Typography: an Encyclopedia Survey of Type Design and Techniques Throughout History. Black Dog & Leventhal Publishers, Inc: 1998. ISBN .
  • Frey, David. X-Height FontHaus's Online Magazine. DsgnHaus, Inc. 2006.
  • Lawson, Alexander S., Anatomy of a Typeface. Godine: 1990. ISBN.
  • Nesbitt, Alexander The History and Technique of Lettering Dover Publications: 1975. ISBN

แหล่งข้อมูลอื่น

แก้