โซยุซ เอ็มเอส-04 เป็นโครงการอวกาศโซยุซที่เปิดตัวขึ้นเมื่อวันที่ 20 เมษายน พ.ศ. 2560 เพื่อไปยังสถานีอวกาศนานาชาติ[1]โดยได้ส่งลูกเรือ 2 คนจากโครงการเอ็กแพรนชัน 52 ไปยังสถานีอวกาศนานาชาติ เอ็มเอส-04 เป็นโครงการอวกาศโซยุซครั้งที่ 133 ลูกเรือประกอบด้วยผู้บัญชาการชาวรัสเซียและวิศวกรชาวอเมริกา เป็นครั้งแรกของโครงการอวกาศโซยุซ เอ็มเอสที่ใช้ระยะเวลาในการถึงสถานีอวกาศเพียง 6 ชั่วโมง โดยภารกิจก่อนหน้านี่ใช้เวลาเข้าวงโคจรถึง 2 วัน และยังเป็นครั้งแรกที่ส่งนักบินอวกาศจำนวน 2 คน หลังจากที่มีภารกิจโซยุซ ทีเอ็มเอ-02

โซยุซ เอ็มเอส-04
จรวดโซยุซ เอ็มเอส-04 ขนาดอยู่บริเวณลานปล่อยจรวดอวกาศ
ข้อมูลทั่วไป
ผู้ควบคุมรัฐวิสาหกิจรอสคอสมอส
วงโคจรที่เข้าสำเร็จ2,176 ครั้ง
ลูกเรือ
จำนวนลูกเรือ2 คน (ขากลับ 1 คน)
สมาชิกฟีโอดอร์ เยอร์ชิคฮิน
แจ็ค ดี. ฟิชเชอร์
(ขากลับ: เพ็กกี้ เอ. วิตสัน)
เริ่มภารกิจ
ข้อมูล20 มีนาคม พ.ศ. 2560
ที่ปล่อยบัยโกเงอร์ ลาน 1/5
สิ้นสุดภารกิจ
ข้อมูล3 ธันวาคม พ.ศ. 2560
01:22 UTC
ที่ลงจอดคาซัคสถาน
ภารกิจ
ก่อนหน้านี้โซยุซ เอ็มเอส-03
หลังจากนี้โซยุซ เอ็มเอส-06

ลูกเรือ

แก้
ตำแหน่ง[2] การปล่อยของCrew Member การลงจอดของCrew Member
ผู้บัญชาการ   ฟีโอดอร์ เยอร์ชิคฮิน, อาร์เอสเอ
เอ็กแพรนชัน 51
ขึ้นสู่อวกาศครั้งห้าใน
วิศวกรประจำเครื่องลำดับ 1   แจ็ค ดี. ฟิชเชอร์, นาซา
เอ็กแพรนชัน 51
ขึ้นสู่อวกาศครั้งนี้และสุดท้ายใน
วิศวกรประจำเครื่องลำดับ 2 N/A   เพ็กกี้ เอ. วิตสัน, นาซา[3]
เอ็กแพรนชัน 52
ขึ้นสู่อวกาศครั้งสามและสุดท้ายใน[4]

ขากลับ

แก้
ตำแหน่ง[2] จำนวนลูกเรือ
ผู้บัญชาการ   เสอร์เจียน รยาซานสกี, อาร์เอสอาร์
วิศวกรประจำเครื่องลำดับ 1   รานโดท เฟอร์สนิทร์, นาซา

อ้างอิง

แก้
  1. Pietrobon, Steven (5 February 2017). "Russian Launch Manifest". สืบค้นเมื่อ 12 February 2017.
  2. 2.0 2.1 "Manned Spaceflight Launch and Landing Schedule". spacefacts. สืบค้นเมื่อ 22 November 2016.
  3. Harwood, William. "Whitson's station expedition extended three months". Spaceflight Now. สืบค้นเมื่อ 5 April 2017.
  4. Potter, Sean (15 June 2018). "Record-Setting NASA Astronaut Peggy Whitson Retires". NASA (ภาษาอังกฤษ). สืบค้นเมื่อ 24 June 2018.