ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เคลวิน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Naksomsong (คุย | ส่วนร่วม)
Naksomsong (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 20:
==อุณหภูมิของสี==
{{see also|Stefan–Boltzmann constant}}
เคลวินมักใช้เป็นมาตารวัดของ[[อุณหภูมิสี]]ของแหล่งกำเนิดแสง อุณหภูมิของสีอยู่บนหลักการที่ว่า[[วัตถุดำ]]จะเปล่งแสงที่มีการกระจายความถี่ที่เป็นลักษณะเฉพาะของอุณหภูมิของมัน วัตถุสีดำที่อุณหภูมิต่ำกว่าประมาณ {{val|4000|u=K}} จะมีสีแดงและถ้าสูงกว่า {{val|7500|u=K}} จะออกสีน้ำเงิน สีของอุณหภูมิมีความสำคัญในด้านของการฉายภาพ และ [[การถ่ายภาพ]] ซึ่งอุณหภูมิของสีประมาณ {{val|5600|u=K}} จำเป็นสำหรับฟิล์มถ่ายรูปในตอนเช้า. ใน [[ดาราศาสตร์]] [[การแบ่งแยกดวงดาว]] ของดาว และสถานที่บน [[Hertzsprung–Russell diagram]] ส่วนนึงขึ้นอยู่กับอุณหภมิพื้นผิวของพวกดาว ซึ่งเรียกกันว่า [[อุณหภูมิยังผล]]. ยกตัวอย่าง เช่น ชั้นโฟโตสเฟียร์ของ [[ดวงอาทิตย์]] มี อุณหภูมิยังผล ประมาณ {{val|5778|u=K}}.
 
กล้องดิจิทัล และ โปรแกรมรูปภาพส่วนใหญ่ใช้ อุณหภูมิของสีในหน่วย เคลวิน ใน การแก้ไข(edit) และ เซ็ทอัพเมนู (setup menus) หลักการอย่างง่ายๆคือ ยิ่งสีที่มีอุณหภูมิสูง จะสามารถสร้างรูปภาพที่มีเฉดสีของ สีขาวและสีน้ำเงินสดขึ้น หากอุณหภูมิของสีลดลงจะส่งผลให้รูปภาพมีสีแดงเป็นสีเด่น [[Color theory#Warm vs. cool colors|"สีอุ่น"]]
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/เคลวิน"