ผลต่างระหว่างรุ่นของ "โลตัส (ห้างสรรพสินค้า)"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
CommonsDelinker (คุย | ส่วนร่วม)
นำภาพ "Tesco_Lotus_logo.jpg" ออก ซึ่งถูกลบที่วิกิมีเดียคอมมอนส์โดย Ellywa เนื่องจาก per c:Commons:Deletion requests/Files in Category:Tesco
Poonpun2016 (คุย | ส่วนร่วม)
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขด้วยแอปสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขด้วยแอปสำหรับแอนดรอยด์
บรรทัด 48:
ในวันที่ 15 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2564 โลตัสได้มีเปลี่ยนแปลงภาพลักษณ์ เปลี่ยนโลโก้ใหม่เป็น Lotus’s โดยตัดคำว่า Tesco ออกและเติม ’s เข้าไป พร้อมปรับใช้สีโทนพาสเทลให้ทันสมัยขึ้น และนำร่องการเปลี่ยนแปลงนี้ที่สาขาเลียบทางด่วนเอกมัย-รามอินทรา (ติดกับเซ็นทรัล อีสต์วิลล์) เป็นแห่งแรก<ref>[https://www.prachachat.net/marketing/news-613823 เทสโก้ โลตัส รีแบรนด์ใหม่ สู่ “โลตัส ” (Lotus’s)]</ref> และในโอกาสเดียวกัน โลตัส ได้เปลี่ยนแปลงภาพลักษณ์ของ Tesco Lotus Express และ Tesco Lotus ตลาด บางสาขา ให้เป็น โลตัส โก เฟรช โดยเริ่มที่สาขาเอกชัย 89 เป็นสาขาแรก ก่อนจะปรับปรุงให้แล้วเสร็จทั้งหมดภายในปี 2565 และในเดือนกันยายนปีเดียวกัน โลตัส ยังได้รับโอนกิจการ ซีพี เฟรชมาร์ท และ ซีพี เฟรช ทั้งหมดจากซีพีเอฟ เพื่อนำมาปรับปรุงให้เป็น โลตัส โก เฟรช ด้วยเช่นกัน
 
มูลนิธิเพื่อผู้บริโภค สมาคมนักกฎหมายคุ้มครองสิทธิและสิ่งแวดล้อม ร่วมกับ 37 องค์กรผู้บริโภคและผู้บริโภคทั่วประเทศ ยื่นฟ้องคณะกรรมการการแข่งขันทางการค้า ในกรณีที่คณะกรรมการมีมติ 4 ต่อ 3 อนุญาตให้กลุ่มซีพีเข้าควบรวมกิจการเทสโก้ โลตัสในประเทศไทยได้ ซึ่งส่งผลให้กลุ่มซีพีมีส่วนแบ่งทางการตลาดในกลุ่มโมเดิร์นเทรดสูงถึง 83.97% ถือเป็นการผูกขาดทางการค้าอย่างรุนแรง ส่งผลกระทบต่อกลุ่มธุรกิจขนาดกลางและธุรกิจรายย่อย และส่งผลต่อภาพรวมของระบบเศรษฐกิจในประเทศ เนื่องจากกลุ่มซีพีเป็นบริษัทด้านการเกษตรและการอุปโภคบริโภคขนาดใหญ่ มีธุรกิจครอบคลุมการดำรงชีวิตของประชาชนตั้งแต่ต้นน้ำถึงปลายน้ำ<ref>[https://www.bbc.com/thai/thailand-56398660 ซีพี: ภาคประชาชนยื่นฟ้องศาลปกครองให้เพิกถอนมติคณะกรรมการแข่งขันทางการค้าไฟเขียวเทสโก้ - ซีพี ควบรวมกิจการ]</ref> โดยคดีดังกล่าวมีสำนักผู้ตรวจการแผ่นดินรับฟ้องเมื่อวันที่ 19 มีนาคม พ.ศ. 2564<ref>[https://www.prachachat.net/marketing/news-639848 ซีพีงานเข้า ผู้ตรวจการแผ่นดินรับคำร้องควบรวมเทสโก้ไม่เป็นธรรม]</ref> และศาลปกครองกลางมีคำสั่งรับฟ้องเมื่อวันที่ 22 มีนาคม พ.ศ. 2564<ref>[https://thestandard.co/resolution-to-combine-cp-and-tesco-may-not-be-legitimate/ ศาลปกครองรับฟ้อง และให้พิจารณาโดยเร่งด่วน กรณี กขค. มีมติควบรวมซีพีและเทสโก้ อาจไม่ชอบด้วยกฎหมาย]</ref> อย่างไรก็ตาม เมื่อวันที่ 11 กรกฎาคม ปีเดียวกัน ศาลปกครอง ได้ยกคำรองทั้งหมดโดยทั้งสองคดีให้เหตุผลว่าไปตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่ พ.ร.บ. แข่งขันทางการค้า พ.ศ. 2560 กำหนด จึงยังอยู่ในระหว่างการสืบหาพยานหลักฐานไม่มีเหตุที่จะรับฟังได้ว่าไม่ชอบด้วยกฎหมาย และไต่ส่วนเพื่อพิพากษาคดี เมื่อวันที่ 31 สิงหาคม พ.ศ. 2564 ซีพี ออลล์ ได้แจ้งต่อไปตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยว่ามติที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท ร่วมกับที่ประชุมของกลุ่มบริษัทเครือเจริญโภคภัณฑ์ ได้มีมติให้ [[สยามแม็คโคร|บริษัท สยามแม็คโคร จำกัด (มหาชน)]] รับโอนกิจการของ บริษัท ซี.พี. รีเทล โฮลดิ้ง จำกัด ทั้งหมด อันประกอบด้วย บริษัท ซี.พี. รีเทล ดีเวลลอปเมนท์ จำกัด (บริษัท เทสโก้ สโตร์ (เอเชีย) จำกัด เดิม), บริษัท โลตัส สโตร์ (ประเทศไทย) จำกัด, บริษัท โลตัส สโตร์ (มาเลเซีย) จำกัด และบริษัท เอก-ชัย ดิสทิบิวชัน ซิสเท็ม จำกัด ซึ่งจะช่วยให้แม็คโครและโลตัสสามารถบริหารงานกันเป็นหนึ่งเดียวมากขึ้น และเป็นการลดความขัดแย้งทางผลประโยชน์ของกลุ่มซีพีอีกด้วย
 
อย่างไรก็ตาม เมื่อวันที่ 31 สิงหาคม พ.ศ. 2564 ซีพี ออลล์ ได้แจ้งต่อตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยว่ามติที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท ร่วมกับที่ประชุมของกลุ่มบริษัทเครือเจริญโภคภัณฑ์ ได้มีมติให้ [[สยามแม็คโคร|บริษัท สยามแม็คโคร จำกัด (มหาชน)]] รับโอนกิจการของ บริษัท ซี.พี. รีเทล โฮลดิ้ง จำกัด ทั้งหมด อันประกอบด้วย บริษัท ซี.พี. รีเทล ดีเวลลอปเมนท์ จำกัด (บริษัท เทสโก้ สโตร์ (เอเชีย) จำกัด เดิม), บริษัท โลตัส สโตร์ (ประเทศไทย) จำกัด, บริษัท โลตัส สโตร์ (มาเลเซีย) จำกัด และบริษัท เอก-ชัย ดิสทิบิวชัน ซิสเท็ม จำกัด ซึ่งจะช่วยให้แม็คโครและโลตัสสามารถบริหารงานกันเป็นหนึ่งเดียวมากขึ้น และเป็นการลดความขัดแย้งทางผลประโยชน์ของกลุ่มซีพีอีกด้วย
 
== รูปแบบสาขา ==