ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เสือโคร่งเบงกอล"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 26:
'''เสือโคร่งเบงกอล''' ({{lang-en|Bengal tiger, Royal bengal tiger}}; {{ชื่อวิทยาศาสตร์|Panthera tigris tigris}}) เป็น[[เสือโคร่ง]][[ชนิดย่อย]]ชนิดหนึ่ง นับเป็นเสือโคร่งที่มีขนาดใหญ่เป็นอันดับ 2 ของบรรดาเสือโคร่งทั้งหมด รองจาก[[เสือโคร่งไซบีเรีย]] (''P. t. altaica'') ที่พบในแถบ[[ไซบีเรีย]] [[ประเทศรัสเซีย]]
 
เสือโคร่งเบงกอลตัวผู้เมื่อมีขนาดใหญ่เต็มที่อาจยาวได้ถึง 360 [[เซนติเมตร]] หนัก 180-270258 [[กิโลกรัม]] ขณะที่ตัวเมียมีขนาดเล็กกว่า และมีน้ำหนักอยู่ที่ประมาณ 140–180 กิโลกรัม
 
มีการกระจายพันธุ์อยู่ในภูมิภาค[[เอเชียใต้]] ใน[[ประเทศอินเดีย]], [[เนปาล]], [[บังกลาเทศ]] และกระจายเข้าไปในแถบ[[ประเทศพม่า]]ด้วย เสือโคร่งเบงกอลมีศัตรูทางธรรมชาติเยอะอาทิเช่น [[งูเหลือม]] [[งูหลาม]] [[จระเข้น้ำเค็ม]] [[Elephas maximus indicus|ช้างอินเดีย]] [[หมาใน]] หมีสลอธ [[หมีควาย]] [[หมีหมา]]และ[[สิงโตอินเดีย]] แต่เจ้าเสือโคร่งเบงกอลก็สามารถเอาตัวรอดมาได้ถึงแม้มันจะอยู่ตัวเดียว สถานะในธรรมชาติ จัดเป็นสัตว์ใกล้[[สูญพันธุ์]] เนื่องจากการถูกล่าเพื่อทำหนังเป็นเครื่องประดับ และกระดูก, อวัยวะ เป็นยาสมุนไพรตามความเชื่อ อย่างไรก็ตาม เสือโคร่งเบงกอลนั้นนับได้ว่าเป็นเสือโคร่งชนิดที่ยังมีเหลืออยู่มากที่สุดในธรรมชาติ คาดว่ามีอยู่มากกว่า 3,500 ตัวในธรรมชาติ