ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ผู้คัดค้านโดยอ้างมโนธรรม"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
InternetArchiveBot (คุย | ส่วนร่วม)
Rescuing 1 sources and tagging 0 as dead.) #IABot (v2.0.8
InternetArchiveBot (คุย | ส่วนร่วม)
Rescuing 1 sources and tagging 0 as dead.) #IABot (v2.0.8.6
บรรทัด 1:
[[ไฟล์:Muhammad Ali NYWTS.jpg|thumb|ช่วง[[สงครามเวียดนาม]] [[มูฮัมหมัด อาลี]]ปฏิเสธ[[การเกณฑ์ทหาร]]ใน[[สหรัฐอเมริกา]]ด้วยเหตุผลทางศาสนา]]
 
'''ผู้คัดค้านโดยอ้างมโนธรรม'''<ref>{{Cite RIT-EU | 1 = [[สมใจ ไพโรจน์ธีระรัชต์]] | 2 = [[ณัฐวุฒิ สุทธิสงคราม]] และคณะ | 3 = http://www.royin.go.th/upload/297/FileUpload/952_5600.pdf | 4 = 3 | 5 = 1 (อักษร A-B) | 6 = 974-9588-25-8 | 7 = 137 | 8 = | 9 = 2547 }}</ref> ({{lang-en|conscientious objector}}) คือ ปัจเจกชนที่ใช้สิทธิ์[[คัดค้านการเกณฑ์ทหาร]]<ref>On July 30, 1993, explicit clarification of the [[International Covenant on Civil and Political Rights]] Article 18 was made in the [[United Nations]] [[Human Rights Committee]] general comment 22, Para. 11: {{cite web|url=http://www.ohchr.org/EN/Issues/FreedomReligion/Pages/IstandardsI3k.aspx|title=Special Rapporteur on freedom of religion or belief. Framework for communications. Conscientious Objection |publisher=Office of the United Nations High Commissioner for Human Rights|accessdate=2012-05-07|archive-date=2020-01-06|archive-url=https://web.archive.org/web/20200106042616/https://www.ohchr.org/EN/Issues/FreedomReligion/Pages/IstandardsI3k.aspx|url-status=dead}}</ref> ด้วยเหตุแห่งเสรีภาพทางความคิด มโนธรรม หรือศาสนา<ref>{{cite web|url=http://www2.ohchr.org/english/law/ccpr.htm|title=International Covenant on Civil and Political Rights; See Article 18|publisher=Office of the United Nations High Commissioner for Human Rights|accessdate=2008-05-15|archive-date=2008-07-05|archive-url=https://web.archive.org/web/20080705115024/http://www2.ohchr.org/english/law/ccpr.htm|url-status=dead}}</ref>
 
[[คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งสหประชาชาติ]] (UNCHR) มีมติรับรองว่า การคัดค้านการเกณฑ์ทหารโดยอ้างมโนธรรมเป็นการใช้เสรีภาพทางความคิด มโนธรรม และศาสนาโดยชอบ และเป็นไปตามสิทธิใน[[กติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง]] และขยายความไปว่า ผู้ที่เป็นทหารอยู่อาจพัฒนาเป็นผู้คัดค้านโดยอ้างมโนธรรมก็ได้ ทั้งยังเรียกร้องและย้ำเตือนให้รัฐที่มี[[การเกณฑ์ทหาร]]ให้จัดระบบคัดกรองผู้คัดค้านโดยอ้างมโนธรรมอย่างเป็นธรรม และจัดให้มีการทำงานอื่นเพื่อสังคมแทนการฝึกทหารสำหรับบุคคลเหล่านี้<ref>http://www.unhchr.ch/Huridocda/Huridoca.nsf/0/5bc5759a53f36ab380256671004b643a?Opendocument</ref><ref>http://www.unhchr.ch/Huridocda/Huridoca.nsf/TestFrame/3e63dcb94a1ae7a9802566ef005cf64a?Opendocument</ref><ref>[http://www.bayefsky.com/pdf/korea_t5_iccpr_1321_1322_2004.pdf HRC views in case Yoon and Choi v. Republic of Korea, communications nos. 1321-1322/2004]</ref> อนึ่ง UNCHR ยังสนับสนุนให้รัฐต่าง ๆ รับพิจารณาผู้คัดค้านโดยอ้างมโนธรรมที่เกรงกลัวว่าจะถูกดำเนินคดีเป็นผู้ลี้ภัยตาม[[อนุสัญญาว่าด้วยสถานภาพของผู้ลี้ภัย ค.ศ. 1951]] (1951 Convention relating to the Status of Refugees)<ref>http://www.unhchr.ch/Huridocda/Huridoca.nsf/0/5bc5759a53f36ab380256671004b643a?Opendocument</ref>