ผลต่างระหว่างรุ่นของ "มิลเลนเนียม เรสซิเดนซ์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Supanut Arunoprayote (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Supanut Arunoprayote (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 22:
อาคารได้รับการออกแบบโดยทอม ไรท์ และเกคู จอร์จ<ref name="Architecture for Non Majors">{{cite web |title=TOM WRIGHT-THE MILLENNIUM RESIDENCE |url=http://sp2017.thedude.oucreate.com/uncategorized/tom-wright-the-millennium-residence-post-4/ |website=sp2017.thedude.oucreate.com/ |publisher=Architecture for Non Majors |accessdate=1 January 2022}}</ref> จากสำนักงานออกแบบ ดับเบิลยูเคเค จำกัด (WKK Architects)<ref name="MILLENNIUM RESIDENCE">{{cite web |title=MILLENNIUM RESIDENCE, BANGKOK |url=https://wkkarchitects.com/amillennium-residence-bangkok |website=WKK Architects|accessdate=31 December 2021}}</ref> และผู้รับเหมาที่ปรึกษาโครงการบริษัท แอดคินส์ จำกัด ซึ่งต่างเป็นบริษัทที่ทำออกแบบอาคารสูงระฟ้าหลายแห่ง เช่น โรงแรม[[เบิร์จอัลอาหรับ]]ที่เมือง[[ดูไบ]]
 
มิลเลนเนียม เรสซิเดนซ์ มีจุดเด่นจากการใช้ผังรูปตัว T ผนังหน้าต่างทั้งในทั้งภายนอกและภายในอาคารเป็นอะลูมิเนียมแพลทดิ้ง และใช้โทนสีเทาช่วยให้ความสว่างไสวให้บรรยากาศแบบอาคารโมเดิร์น<ref>{{Cite web|title=Homepage|url=https://www.millennium-residence.net/|access-date=2021-01-08|website=Millennium residence|language=en-US}}</ref> ภายในอาคารประกอบด้วยพื้นที่ส่วนกลางเช่น ฟิตเนส สระว่ายน้ำ สนามเทนนิส ห้องประชุม สนามเด็กเล่น และที่จอดรถจำนวน 1 พันคัน จากพื้นที่รวม 12 ไร่ ถูกวางให้เป็นพื้นที่สีเขียวถึง 60% ทำให้โครงการนี้ได้รับรางวัลด้านสิ่งแวดล้อม Green Mark Gold Accrediation จากหน่วยงานด้านอาคารและการก่อสร้าง ประเทศสิงคโปร์ (Building and Construction Authority)<ref name="MILLENNIUM RESIDENCE"></ref>
 
== อ้างอิง ==