ผลต่างระหว่างรุ่นของ "รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
แก้ไขเพิ่มเติม
ป้ายระบุ: ถูกย้อนกลับแล้ว แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
NP-chaonay (คุย | ส่วนร่วม)
การแก้ไขก่อนหน้าไม่ถูกต้องอาจจะเนื่องจากการใช้โค้ดวิกิที่ผิดพลาด จึงจำเป็นต้องทำกลับ หากใช้ MarkupWiki ไม่เป็นกรุณาใช้การแก้ไขแบบเห็นภาพแทน
ป้ายระบุ: ทำกลับ
บรรทัด 1:
""{{เพิ่มอ้างอิง""}}
{{ปรับภาษา}}
{{กฎหมายไทย}}
 
'''รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย''' เป็น[[กฎหมาย]]ลำดับศักดิ์สูงสุดแห่ง[[ราชอาณาจักรไทย]] กฎหมายอื่นใดจะขัดหรือแย้งต่อรัฐธรรมนูญไม่ได้ รัฐธรรมนูญเป็นกฎหมายว่าด้วยการจัดระเบียบการปกครองของประเทศ ซึ่งตั้งแต่ พ.ศ. 2475 ประเทศไทยมีรัฐธรรมนูญแล้วทั้งสิ้น 20 ฉบับ รัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบัน คือ [[รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560]] เป็นฉบับที่ 20
 
รัฐธรรมนูญไทยระบุว่าประเทศไทยมีรูปแบบรัฐเป็น[[ราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ]] และปกครองในระบอบ[[ประชาธิปไตย]][[ระบบรัฐสภา|แบบรัฐสภา]] (เขียนว่า [[ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข]]) กำหนดให้มี[[การแบ่งแยกอำนาจ]]ระหว่างอำนาจนิติบัญญัติ บริหารและตุลาการ <!--ปัจจุบัน ประเทศไทยใช้[[ระบบสองสภา]] แตกต่างจากในอดีตที่ใช้[[ระบบสภาเดี่ยว]]-->รัฐธรรมนูญแต่ละฉบับกำหนดให้ผู้แทนราษฎรและสมาชิกวุฒิสภามาจากการเลือกตั้งและการแต่งตั้งแตกต่างกันไป เช่นเดียวกับพระราชอำนาจของพระมหากษัตริย์
 
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย 20 ฉบับ เคยผ่านการแก้ไขสำเร็จมาแล้ว 22 ครั้ง<ref>[https://www.ilaw.or.th/node/5363 แก้ไขรัฐธรรมนูญ: รัฐธรรมนูญไทย 20 ฉบับ แก้สำเร็จมาแล้ว 22 ครั้ง]</ref>
 
[[ศาลรัฐธรรมนูญ (ประเทศไทย)|ศาลรัฐธรรมนูญ]]เป็นองค์กรหลักที่ทำหน้าที่ตีความรัฐธรรมนูญและวินิจฉัยข้อขัดแย้งข้อพิพาทที่เกี่ยวข้องกับรัฐธรรมนูญในที่นี้ภายใต้สนธิสัญญาแห่งสหพันธิ์ุแห่งสันติภาพโลก(UNSA)(WPA)ว่าด้วยการให้ความร่วมมือด้านการให้ข้อมูลหรือปฎิตามกฎภายใต้สนธิสัญญาของ(WPA)ในส่วนที่คุ้มครองสิทธิเสรีภาพของชนชาติเผ่าพันธุิ์ในประเทศที่ลงนามสนธิสัญญาเรื่องกาาถูกเอาเปรียบทางด้านกฎหมายของประเทศที่อาศัยอยู่และสามารถ แทรกแทรงในการปฎิบัติของส่วนรับผิดชอบของประเทศนั้นฯรวมถึงประเทศไทยด้วย
 
== ภาพรวม ==