ผลต่างระหว่างรุ่นของ "คู่เบส (อณูพันธุศาสตร์)"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Tikmok (คุย | ส่วนร่วม)
แปลจากวิกีอังกฤษ
 
Tikmok (คุย | ส่วนร่วม)
ปรับข้อมูลและสำนวน
 
บรรทัด 6:
เพราะมีรูปแบบ[[พันธะไฮโดรเจน]]ที่แน่นอน คู่เบสแบบ "[[ฟรานซิส คริก|วัตสัน]]-[[ฟรานซิส คริก|คริก]]" คือ [[guanine]]-[[cytosine]] และ [[adenine]]-[[thymine]]<ref>{{cite journal | last1 = Spencer | first1 = M. | title = The stereochemistry of deoxyribonucleic acid. II. Hydrogen-bonded pairs of bases | journal = Acta Crystallographica | date = 1959-01-10 | volume = 12 | issue = 1 | pages = 66-71 | doi = 10.1107/S0365110X59000160 | url = https://scripts.iucr.org/cgi-bin/paper?S0365110X59000160 | language = en | issn = 0365-110X}}</ref>
จึงทำให้ดีเอ็นเอดำรงรูปทรงเป็นเกลียวได้อย่างต่อเนื่องโดยอาศัยลำดับ[[นิวคลีโอไทด์]]ของมัน<ref name="Zhurkin Tolstorukov Xu Colasanti pp. 18-34">{{cite book | last = Zhurkin | first = Victor B. | last2 = Tolstorukov | first2 = Michael Y. | last3 = Xu | first3 = Fei | last4 = Colasanti | first4 = Andrew V. | last5 = Olson | first5 = Wilma K. | title = DNA Conformation and Transcription | chapter = Sequence-Dependent Variability of B-DNA | publisher = Springer US | publication-place = Boston, MA | doi = 10.1007/0-387-29148-2_2 | pages = 18-34}}</ref>
ลักษณะ[[การจับคู่ของเบส]] (complementary) จึงทำให้รหัสพันธุกรรมมีสำเนาที่เป็นสายคู่ของดีเอ็นเอ
และโครงสร้างที่สม่ำเสมอกับความซ้ำซ้อนของข้อมูลพันธุกรรมที่มีอยู่ในคู่เกลียวดีเอ็นเอ จึงทำให้ดีเอ็นเอเหมาะในการเก็บข้อมูลพันธุกรรม
อนึ่ง การจับคู่ระหว่างสายดีเอ็นเอกับนิวคลีโอไทด์ที่นำเข้ามาใหม่ก็เป็นกลไกให้[[เอนไซม์]] {{nowrap |"[[ดีเอ็นเอพอลิเมอเรส]]"}} ถ่ายแบบดีเอ็นเอได้ และให้เอนไซม์ "[[อาร์เอ็นเอพอลิเมอเรส]]" [[การถอดรหัส (พันธุศาสตร์)|ถอดรหัสดีเอ็นเอเป็นอาร์เอ็นเอ]]ได้