ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อุทยาน 100 ปี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
InternetArchiveBot (คุย | ส่วนร่วม)
Rescuing 1 sources and tagging 0 as dead.) #IABot (v2.0.8.1
Supanut Arunoprayote (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 17:
}}
'''อุทยาน 100 ปี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย''' เป็น[[สวนสาธารณะ|สวนชุมชน]]เนื้อที่ ขนาดประมาณ 28 ไร่ ตั้งอยู่บริเวณซอยจุฬาลงกรณ์ 5 ระหว่างซอยจุฬาลงกรณ์ 9 กับ[[ถนนบรรทัดทอง]] ในพื้นที่สวนหลวง-สามย่าน เชื่อมต่อกับแนวแกนกลางของ[[จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย]] เปิดการใช้งานครั้งแรกเมื่อวันที่ 26 มีนาคม พ.ศ. 2560 ภายในสวนสาธารณะแบ่งพื้นที่ใช้สอยเป็น ลานกิจกรรมกลางแจ้ง ศูนย์การเรียนรู้ โดยอาคารต่าง ๆ จะปลูกต้นไม้เพื่อเป็นอาคารสีเขียว มีประโยชน์ในการชะลอน้ำ<ref>[https://www.thairath.co.th/content/595093 จุฬาฯ สร้าง 'อุทยาน 100 ปี' สวนสาธารณะ ปอดแห่งใหม่ของคนกรุงเทพ]</ref> ออกแบบตามแนวคิด "ป่าในเมือง" ออกแบบให้เป็นพื้นที่หน่วงน้ำของเมือง โดยใช้หลักการสร้างบ่อเก็บน้ำ (retention pond) บ่อพักนํ้าชั่วคราว (detention pond) ขนาดใหญ่บริเวณทางเข้าแต่ละจุดของสวน ซึ่งออกแบบไว้ในรูปแบบบริเวณพื้นที่ต่ำของโครงการ นอกจากนี้มีแนวพื้นที่รับน้ำ (rain garden) และระบบระบายน้ำใต้ดิน มีพื้นที่อเนกประสงค์ และที่จอดรถ 200 คัน<ref>[http://www.cu100.chula.ac.th/%E0%B8%AD%E0%B8%B8%E0%B8%97%E0%B8%A2%E0%B8%B2%E0%B8%99%E0%B8%88%E0%B8%B8%E0%B8%AC%E0%B8%B2%E0%B8%AF-100-%E0%B8%9B%E0%B8%B5/ อุทยานจุฬาฯ 100 ปี]</ref> มี[[หลังคาเขียว]]ที่ใหญ่ที่สุดของประเทศไทย<ref name="หลังคาเขียว"/> อุทยานเปิดในวันที่ 26 มีนาคม พ.ศ. 2560 ซึ่งเป็นวันเฉลิมฉลองจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยครบ 100 ปีพอดี
 
ที่มาของโครงการมาจากดำริของผู้บริหารมหาวิทยาลัยในผังแม่บทที่วางมานาน ซึ่งกำหนดให้แกนกลางของผังจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยที่เชื่อมต่อกับส่วนพาณิชย์เป็นพื้นที่สีเขียว จนราวปี พ.ศ. 2555 สำนักงานจัดการทรัพย์สิน จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ได้จัดประกวดแบบอุทยานเพื่อเฉลิมฉลองมหาวิทยาลัยครบรอบ 100 ปี จนได้ผู้ชนะการประกวดแบบหลักด้านงาน[[ภูมิสถาปัตยกรรม]] คือ บริษัท[[กชกร Landprocessวรอาคม]] จากสำนักงานออกแบบบริษัทแลนด์โปรเสส<ref>{{Cite web |url=http://chu.in.th/p/749 |title=อุทยานจุฬาฯ: ของขวัญวันนี้เพื่อ 100 ปีข้างหน้า |access-date=2017-08-24 |archive-date=2017-08-19 |archive-url=https://web.archive.org/web/20170819011523/http://chu.in.th/p/749 |url-status=dead }}</ref> และผู้ออกแบบอาคารจากสำนักงานออกแบบ N7A<ref>{{cite web |title=CHULALONGKORN UNIVERSITY MUSEUM & CENTRAL PARK |url=http://www.n7a.co.th/project/public/chulalongkorn-university-museum-central-park/ |website=http://www.n7a.co.th/ |publisher=N7A Architect |accessdate=6 November 2021}}</ref> โดยพื้นที่ของอุทยานเดิมเป็น[[ตึกแถว]]ซึ่งหมดสัญญาเช่ากับทางมหาวิทยาลัย และทางมหาวิทยาลัยไม่ต่อสัญญา<ref>[https://www.prachachat.net/news_detail.php?newsid=1461653823 "จุฬาฯ" สร้างอุทยาน 100 ปี ปลูกพื้นที่สีเขียวให้สังคมไทย]</ref>
 
อุทยาน 100 ปี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ได้รับคัดเลือกโดย[[สมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์]]ให้เป็นผลงานออกแบบสถาปัตยกรรมดีเด่น (ASA AD Award) ในปี พ.ศ. 2561<ref>The Association of Siamese Architects. (2018). ''ASA ARCHITECTURAL DESIGN AWARDS 2018 | The Association of Siamese Architects''. [online] Available at: http://asa.or.th/news/asa-architectural-design-awards-2018/ [Accessed 2 May 2018].</ref> ถือเป็นครั้งแรกที่รางวัลด้านสถาปัตยกรรมให้รางวัลกับสวนสาธารณะ<ref name="thaitribune">{{cite news|url=http://www.thaitribune.org/contents/detail/378?content_id=35634&rand=1559591350|title=น่าฟัง! ดร.กชกร วรอาคม ภูมิสถาปนิกหญิงกับการเปลี่ยนเมืองที่กำลังจมเป็นภูมิสถาปัตยกรรมที่พร้อมสู้น้ำท่วมได้|date=3 มิถุนายน 2562|access-date=6 สิงหาคม 2562}}</ref>