ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ภาษาสอบถามเชิงโครงสร้าง"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
JBot (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนการแก้ไขที่อาจเป็นการทดลอง หรือก่อกวนด้วยบอต ไม่ควรย้อน? แจ้งที่นี่
InternetArchiveBot (คุย | ส่วนร่วม)
Rescuing 1 sources and tagging 0 as dead.) #IABot (v2.0.8.2
 
บรรทัด 2:
 
== ประวัติ ==
จากเอกสารของ [[เอ็ดการ์ เอฟ. คอดด์|ดร.เอ็ดการ์ เอฟ. คอดด์]]แถลงต่อสาธารณชนในเดือน มิถุนายน [[ค.ศ. 1970]] ใน นิตยสารของเอซีเอ็ม (Association for Computing Machinery:ACM) [[แบบจำลอง]]ของคอดด์ที่วางเอาไว้ ได้กลายเป็นผลงานที่ยอมรับทั่วโลกสำหรับระบบการจัดการฐานข้อมูลในปัจจุบัน<ref> [http://www.acm.org/classics/nov95/toc.html "A Relational Model of Data for Large Shared Data Banks"] {{Webarchive|url=https://web.archive.org/web/20070612235326/http://www.acm.org/classics/nov95/toc.html |date=2007-06-12 }} เอกสารของ ดร.เอ็ดการ์แถลงในปี [[ค.ศ. 1970]]</ref>
 
ในช่วงปี [[ค.ศ. 1970]] ณ ศูนย์พัฒนาคอมพิวเตอร์ซานโฮเซของ[[ไอบีเอ็ม]] ได้วิจัยและพัฒนาระบบฐานข้อมูลที่เรียกว่าซิสเต็ม อาร์ ( "[[System R]]") ขึ้นตามแบบจำลองของค็อดด์ โดยใช้ระบบภายในภายใต้ชื่อว่าภาษาสอบถามเชิงโครงสร้างภาษาอังกฤษ หรือ ซีเควล (Structured English Query Language:SEQUEL) ซึ่งภายหลังถูกเปลี่ยนชื่อมาเป็นเอสคิวแอลเนื่องจากชื่อซีเควล (SEQUEL) ซ้ำกับชื่อ[[เครื่องหมายการค้า]]ของบริษัทผลิตเครื่องบิน[[ฮอกเกอร์-ซิดเดลีย์]] (Hawker-Siddeley) ของ[[สหราชอาณาจักร]] ถึงแม้ว่าเอสคิวแอลพัฒนามาจากแนวความคิดของ ดร.ค็อดด์ แต่การพัฒนาทั้งหมดไม่ได้มาจาก ดร.ค็อดด์ แต่พัฒนาจาก [[โดนัลด์ ดี. แชมเบอร์ลิน]] (Donald D. Chamberlin) และ [[เรย์มอนด์ เอฟ. บอยซี]] (Raymond F. Boyce) จากไอบีเอ็ม ซึ่งเป็นผู้ที่ทำให้ เอสคิวแอล เป็นที่นิยมมากขึ้น