ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ธนาคารนครหลวงไทย"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
InternetArchiveBot (คุย | ส่วนร่วม)
Rescuing 2 sources and tagging 0 as dead.) #IABot (v2.0.8.1
ป้ายระบุ: ถูกย้อนกลับแล้ว
Famefill (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: ย้อนด้วยมือ
บรรทัด 1:
{{ข้อมูลบริษัท
| company_name = ธนาคารธนชาตนครหลวงไทย จำกัด (มหาชน)
| company_logo = Ttb_bank_logo2.png
| company_type =
| foundation = [[24 พฤษภาคม]] [[พ.ศ. 2484]]
| ปิดกิจการ = [[1 ตุลาคม]] [[พ.ศ. 2554]] (70 ปี)
| location = เลขที่ 1101 [[ถนนเพชรบุรี]] แขวงถนนพญาไท [[เขตราชเทวี]] [[กรุงเทพมหานคร]]
| key_people =
| industry =
บรรทัด 13:
| homepage = [http://www.scib.co.th www.scib.co.th]
}}
'''ธนาคารธนชาตนครหลวงไทย จำกัด (มหาชน) ''' (Siam City Bank Public Company Limited (SCIB) ) เป็นอดีต[[ธนาคาร]][[ประเทศไทย|ไทย]] ก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ [[24 พฤษภาคม]] [[พ.ศ. 2484]] ในชื่อเดิม "ธนาคารนครหลวงแห่งประเทศไทย"<ref>[http://guru.sanook.com/enc_preview.php?id=1126&title=%BE%D1%B2%B9%D2%A1%D2%C3%B8%B9%D2%A4%D2%C3%BE%D2%B3%D4%AA%C2%EC%E3%B9%BB%C3%D0%E0%B7%C8%E4%B7%C2 จำกัด (มหาชน)พัฒนาการธนาคารพาณิชย์ในประเทศไทย]</ref> โดยคณะบุคคลของรัฐบาลร่วมกับสมาชิกในราชวงศ์ ด้วยทุนจดทะเบียนเริ่มแรก 1,000,000 บาท มีสถานะเป็นรัฐวิสาหกิจของไทย มีตราสัญลักษณ์พระราชทานจาก[[พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล]] เป็นรูป “พระมหามงกุฎ” ต่อมาในวันที่ [[11 มิถุนายน]] [[พ.ศ. 2487]] ได้เปลี่ยนชื่อมาเป็น "ธนาคารนครหลวงไทย" และใช้ชื่อนี้ต่อมาจนควบรวมกับ[[ธนาคารทหารไทยธนชาต|ธนาคารธนชาต]]เมื่อวันที่ [[1 ตุลาคม]] [[พ.ศ. 2554]]
 
ธนาคารนครหลวงไทย มีสถานะเป็นรัฐวิสาหกิจของไทย กระทั่งวันที่ [[25 พฤศจิกายน]] [[พ.ศ. 2547]] กองทุนเพื่อการฟื้นฟูและพัฒนาระบบสถาบันการเงิน ได้ลดสัดส่วนการถือหุ้นเหลือต่ำกว่าร้อยละ 50 จึงมีผลให้ธนาคารนครหลวงไทย พ้นสภาพจากการเป็นรัฐวิสาหกิจ<ref>[http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2548/00154950.PDF ประกาศนายทะเบียน ที่ 2/2548 เรื่อง สหภาพแรงงานรัฐวิสาหกิจธนาคารนครหลวงไทยสิ้นสภาพ]</ref>
บรรทัด 21:
 
== การขายกิจการ ==
วันที่ 9 เมษายน พ.ศ. 2553 กองทุนเพื่อการฟื้นฟูและพัฒนาระบบสถาบันการเงิน ได้ขายหุ้นธนาคารที่ถืออยู่ ทั้งหมดให้กับ [[ธนาคารธนชาต|ธนาคารทหารไทยธนชาต]] จำนวน 1,005.33 ล้านหุ้น คิดเป็นร้อยละ 47.58 ของหุ้นที่ออกจำหน่าย และเรียกชำระแล้ว และต่อมาธนาคารธนชาตได้เข้าซื้อหุ้นจากการทำคำเสนอซื้อเพิ่มเติม อีกจำนวน 1,106.35 ล้านหุ้น ทำให้ธนาคารธนชาตเป็นผู้ถือหุ้นรายใหญ่มีสัดส่วน การถือหุ้นในธนาคารทั้งสิ้น 2,111.68 ล้านหุ้น หรือคิดเป็นร้อยละ 99.95 ของจำนวนหุ้น ทั้งหมด เมื่อวันที่ 13 ธันวาคม พ.ศ. 2553 ธนาคารได้ถอนหุ้นสามัญ ออกจากการเป็นหลักทรัพย์จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ ณ สิ้นเดือนมีนาคม พ.ศ. 2554 ธนาคารมีทุนจดทะเบียนทั้งสิ้น 21,128 ล้านบาท มีสินทรัพย์รวมจำนวน 404,182 ล้านบาท สินเชื่อจำนวน 272,205 ล้านบาท เงินฝากจำนวน 270,640 ล้านบาท มีจำนวนพนักงาน 6,809 คน และสาขา 422 สาขาทั่วประเทศ
 
ในปี พ.ศ. 2554 ธนาคารนครหลวงไทย ได้ควบรวมกิจการเข้ากับ[[ธนาคารธนชาต|ธนาคารทหารไทยธนชาต]] ตั้งแต่วันที่ [[1 ตุลาคม]] [[พ.ศ. 2554]]<ref>{{Cite web |url=http://www.scib.co.th/th/about/default.asp |title=สำเนาที่เก็บถาวร |access-date=2011-09-13 |archive-date=2009-02-21 |archive-url=https://web.archive.org/web/20090221164110/http://www.scib.co.th/th/about/default.asp |url-status=dead }}</ref><ref>{{Cite web |url=[http://www.mbamagazine.net/home/index.php/blog/43-bizandfinance/186-tbank-scib- |title=TBANK ควบ SCIB “เราจะโต” |access-date=2011-09-14 |archive-date=2011-10-05 |archive-url=https://web.archive.org/web/20111005174932/http://www.mbamagazine.net/home/index.php/blog/43-bizandfinance/186-tbank-scib- |url-status=dead }}]</ref>
 
== อ้างอิง ==