ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ผู้ใช้:Thastp/ทดลองเขียน1"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Thastp (คุย | ส่วนร่วม)
Thastp (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 6:
แนวเทียบเป็นหัวข้อที่มีการศึกษาและถกเถียงถึงมาตั้งแต่ยุค[[สมัยคลาสสิก]]โดยนักปราชญ์ นักวิทยาศาสตร์ นักเทววิทยา และ[[นักกฎหมาย]] ในช่วงไม่กี่ทศวรรษที่ผ่านมานี้ ความสนใจแนวเทียบถูกรื้อฟื้นขึ้นมาโดยเฉพาะในสาขาวิชา[[ประชานศาสตร์]]
 
==ความหมายของคำว่ามโนทัศน์ "ต้นทาง" และ "ปลายทาง"==
==Usage of the terms "source" and "target"==
คำว่า "ต้นทาง" และ "ปลายทาง" มีความหมายอยู่สองแบบขึ้นอยู่กับสาขาวิชาที่พูดถึง:
With respect to the terms ''source'' and ''target'' there are two distinct traditions of usage:
 
* ความหมายเชิงตรรกะ วัฒนธรรม และเศรษฐศาสตร์พูดถึง ''ลูกศร'' ''[[การส่ง (คณิตศาสตร์)|การส่ง]]'' (map (mathematics)) ''สาทิสสัณฐาน'' หรือ ''สัณฐาน'' ซึ่งเริ่มจาก ''โดเมน'' ที่ซับซ้อน หรือ''มโนทัศน์ต้นทาง'' และจบที่ ''[[โคโดเมน]]'' ซึ่งปกติจะซับซ้อนน้อยกว่า หรือ''มโนทัศน์ปลายทาง/เป้าหมาย'' โดยคำเหล่านี้ใช้ในความหมายของ[[ทฤษฎีประเภท]] (category theory)
* The logical and cultures and economics tradition speaks of an ''arrow'', ''[[homomorphism]]'', ''[[Map (mathematics)|mapping]]'', or ''[[morphism]]'' from what is typically the more complex ''domain'' or ''source'' to what is typically the less complex ''[[codomain]]'' or ''target'', using all of these words in the sense of mathematical [[category theory]].
* ความหมายใน[[จิตวิทยาปริชาน]] (cognitive psychology) [[ทฤษฎีวรรณคดี]] (literary theory) และวิชาเฉพาะทางในสาขา[[ปรัชญา]]ซึ่งอยู่นอกวิชา[[ตรรกศาสตร์]] หมายถึง[[มโนอุปลักษณ์|การถ่ายโยง]]จากประสบการณ์ที่คุ้นเคยกว่า หรือ''มโนทัศน์ต้นทาง'' ไปยังประสบการณ์ซึ่งประสบปัญหา หรือ''มโนทัศน์ปลายทาง/เป้าหมาย''
* The tradition in [[cognitive psychology]], in [[literary theory]], and in specializations within [[philosophy]] outside of [[logic]], speaks of a [[Conceptual metaphor#Mappings|mapping]] from what is typically the more familiar area of experience, the ''source'', to what is typically the more problematic area of experience, the ''target''.
 
==Models and theories==