ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ถนนวิทยุ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
InternetArchiveBot (คุย | ส่วนร่วม)
Rescuing 1 sources and tagging 0 as dead.) #IABot (v2.0.8
InternetArchiveBot (คุย | ส่วนร่วม)
Rescuing 0 sources and tagging 1 as dead.) #IABot (v2.0.8.2
บรรทัด 1:
[[File:ถนนวิทยุ Wirless Road (aka Witthayu Road ).jpg|thumb|ถนนวิทยุช่วง[[แยกสารสิน]]]]
'''ถนนวิทยุ''' ({{lang-en|Thanon Witthayu หรือ Witthayu Road หรือบางครั้งเรียกว่า Wireless Road)<ref>{{cite web |url=http://bangkok.usembassy.gov/contact.html |title=Contact Us |publisher=[[สถานเอกอัครราชทูตสหรัฐอเมริกาประจำประเทศไทย|Embassy of the United States Bangkok, Thailand]] |quote=The U.S. Embassy in Bangkok is located at 120 - 122 Wireless Road and 95 Wireless Road in Bangkok, Thailand. |access-date=2015-01-13 |archive-date=2013-05-13 |archive-url=https://web.archive.org/web/20130513060506/http://bangkok.usembassy.gov/contact.html |url-status=dead }}</ref><ref>{{cite web |url=http://www.bangkokpost.com/property/2379_info_witthayu-complex.html |title=Witthayu Complex |publisher=[[Bangkok Post]] |quote=Located on the corner of Witthayu (Wireless) Road }}{{ลิงก์เสีย|date=ตุลาคม 2021 |bot=InternetArchiveBot |fix-attempted=yes }}</ref>}} เป็นถนนสายหนึ่งใน[[กรุงเทพมหานคร]] มีระยะทางเริ่มตั้งแต่[[ถนนพระรามที่ 4]] (แยกวิทยุ) ในท้องที่แขวงลุมพินี [[เขตปทุมวัน]] ตรงไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ ตัดกับ[[ถนนสารสิน]] (แยกสารสิน) และ[[ถนนเพลินจิต]] (แยกเพลินจิต) จากนั้นข้าม[[คลองแสนแสบ]]เข้าสู่ท้องที่แขวงมักกะสัน [[เขตราชเทวี]] และไปสิ้นสุดที่[[ถนนเพชรบุรี]] (แยกวิทยุ-เพชรบุรี)
 
ถนนวิทยุเป็นถนนที่สร้างขึ้นในปี [[พ.ศ. 2463]] รัชสมัย[[พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว]] ตัดเพื่อเชื่อมถนนเพลินจิตกับถนนพระรามที่ 4 ผ่านที่ตั้งวิทยุโทรเลข ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานนามว่า "ถนนวิทยุ" เมื่อเดือน[[มีนาคม]] [[พ.ศ. 2464]] เนื่องจากตัดผ่านสถานีวิทยุแห่งแรกของไทย ซึ่งพลเอก [[พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระกำแพงเพ็ชรอัครโยธิน]]ทรงจัดตั้งขึ้นในปี [[พ.ศ. 2479]] ตั้งอยู่ด้านทิศตะวันออกของ[[สวนลุมพินี]] (ปัจจุบันอยู่ในบริเวณที่เคยเป็น[[โรงเรียนเตรียมทหาร]] [[สวนลุมไนท์บาซาร์]] และปัจจุบันคือโครงการ[[วัน แบงค็อก]]) จึงตั้งชื่อถนนตามสถานที่ที่ตัดถนนผ่านว่าถนนวิทยุ