ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ผู้ใช้:Thastp/ทดลองเขียน1"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Thastp (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Thastp (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 2:
'''แนวเทียบ''' ({{lang-en|Analogy}}) หรือการเปรียบเทียบ หมายถึงกระบวนการทาง[[ประชาน]]ที่เป็นการถ่ายโอน[[สารสนเทศ]]หรือ[[อรรถศาสตร์|ความหมาย]]จากกรณีหนึ่ง (มโนทัศน์ต้นทาง) ไปสู่อีกกรณี (มโนทัศน์ปลายทาง) หรือการแสดงออกทาง[[ภาษา]]ที่สอดคล้องกับกระบวนการดังกล่าว ในนิยามที่แคบกว่านี้ แนวเทียบคือ[[การอนุมาน]]หรือ[[การให้เหตุผล]] (logical argument) จากกรณีเฉพาะหนึ่งไปอีกกรณีเฉพาะหนึ่ง ต่างจาก[[การนิรนัย]] [[การอุปนัย]] และ[[การจารนัย]] ซึ่งข้อสรุปหรือ[[ข้อตั้ง]]อย่างน้อยข้อหนึ่งเป็นกรณีทั่วไป คำว่าแนวเทียบยังสามารถหมายถึงความสัมพันธ์ระหว่างมโนทัศน์ต้นทางกับปลายทาง ซึ่งมักเป็นความสัมพันธ์แบบ[[ความคล้าย (ปรัชญา)|ความคล้าย]] (similarity (philosophy)) อย่างเช่นโครงสร้างอะนาโลกัสหรือ[[วิวัฒนาการเบนเข้า|ความคล้ายโดยมีต้นกำเนิดต่างกัน]]ในความหมายของชีววิทยา
 
แนวเทียบเป็นสิ่งสำคัญใน[[การแก้ปัญหา]] (problem solving) [[การตัดสินใจ]] (decision making) [[ทฤษฎีวิธีการให้เหตุผล|การให้เหตุผล]] (argumentation) [[การรับรู้]] [[การวางนัยทั่วไป]] [[ความจำ|การจำ]] [[การสร้างสรรค์]] [[สิ่งประดิษฐ์|การประดิษฐ์]] การคาดการณ์ [[อารมณ์|ความรู้สึก]] [[คำอธิบาย|การอธิบาย]] (explanation) [[การวางกรอบความคิด]] (conceptualization) และ[[การสื่อสาร]] มันเป็นสิ่งที่อยู่เบื้องหลังของภารกิจพื้นฐานต่าง ๆ เช่น การระบุสถานที่ วัตถุ และผู้คน เช่น [[การรับรู้ใบหน้า]] (face perception) และ[[ระบบการรู้จำใบหน้า|การรู้จำใบหน้า]] มีข้อคิดเห็นหนึ่งบอกกล่าวว่าแนวเทียบเป็นส่วนสำคัญของ[[ประชาน]]<ref>{{Harvnb|Hofstadter|2001}}</ref> Specific analogical language comprises แนวเทียบซึ่งแสดงออกเป็นภาษาประกอบด้วย[[wikt:exemplarแบบอย่าง|exemplificationการยกตัวอย่าง]], [[การเปรียบเทียบ (ไวยากรณ์)|การเปรียบเทียบ]] (Comparison (grammar)|comparisons) [[อุปมา]], [[metaphorอุปลักษณ์]]s, [[simileอุปมานิทัศน์]]s, และ[[allegoryนิทานคติสอนใจ|allegoriesการเล่านิทานคติสอนใจ]], and แต่ไม่รวม[[parableนามนัย]]s, but ''not''(metonymy) [[metonymyข้อความ]]. Phrases(message) likeที่มีวลี เช่น ''and soและอื่น on'', ''and the likeเป็นต้น'', ''asอย่างกับว่า/ดังว่า'' if'', and the very wordอย่าง/ดัง/เหมือน'' ''[[like]]ฯลฯ'' alsoฯลฯ rely on an analogical understanding by the receiver of aเป็นข้อความที่ผู้รับสารต้องใช้ความเข้าใจแบบแนวเทียบ แนวเทียบไม่ได้สำคัญเฉพาะในการใช้[[messageปรัชญาภาษาสามัญ|ภาษาสามัญ]] including them. Analogy is important not only in [[(ordinary language philosophy|ordinary language]] and) และ[[common senseสามัญสำนึก]]เท่านั้น (where เช่น[[proverbสุภาษิต]]s and(proverb) และ[[idiomสำนวน]]s give(idiom) many examples of its applicationก็เป็นตัวอย่างของการใช้แนวเทียบแบบนี้) but also in แต่ยังเป็นสิ่งที่สำคัญในวิชา[[scienceวิทยาศาสตร์]], [[philosophyปรัชญา]], [[lawกฎหมาย]] and the และ[[humanitiesมนุษยศาสตร์]]. The concepts ofด้วย แนวเทียบเป็นแนวคิดที่ใกล้เคียงกับ[[association (psychology)|associationการสัมพันธ์]], comparison,การเปรียบเทียบ correspondence,ความสมนัย ฮอมอโลยีทาง[[homologyฮอมอโลยี (mathematicsคณิตศาสตร์)|mathematicalคณิตศาสตร์]] and และ[[homologyฮอมอโลยี (biologyชีววิทยา)|morphological homologyชีววิทยา]], (homology) [[homomorphismสาทิสสัณฐาน]], (homomorphism) [[iconicityสมสัณฐาน]], (isomorphism) [[isomorphismความเป็นประติมา]], (iconicity) [[metaphorอุปลักษณ์]], resemblance,ความคล้ายคลึง and similarity are closely related to analogy. Inและความเหมือน ในสาขาวิชา[[cognitive linguisticsภาษาศาสตร์ปริชาน]], the(cognitive notion oflinguistics) แนวคิด[[conceptual metaphorมโนอุปลักษณ์]] may(conceptual bemetaphor) equivalentอาจเป็นอย่างเดียวกันกับแนวเทียบ toแนวเทียบยังเป็นฐานของการให้เหตุผลเชิงเปรียบเทียบ thatรวมไปถึงการทดลองต่าง of analogy. Analogy is also a basis for any comparative arguments as well as experiments whose results are transmitted to objects that have been not under examinationซึ่งผลของการทดลองถูกนำไปใช้กับวัตถุซึ่งไม่ได้รับการทดลอง (e.g.,เช่น experiments on rats when results are applied to humansการทดลองกับ[[หนู]]แล้วเอาผลการทดลองไปใช้กับมนุษย์).
 
แนวเทียบเป็นหัวข้อที่มีการศึกษาและถกเถียงถึงมาตั้งแต่ยุค[[สมัยคลาสสิก]]โดยนักปราชญ์ นักวิทยาศาสตร์ นักเทววิทยา และ[[นักกฎหมาย]] ในช่วงไม่กี่ทศวรรษที่ผ่านมานี้ ความสนใจแนวเทียบถูกรื้อฟื้นขึ้นมาโดยเฉพาะในสาขาวิชา[[ประชานศาสตร์]]
Analogy has been studied and discussed since [[classical antiquity]] by philosophers, scientists, theologists and [[law]]yers. The last few decades have shown a renewed interest in analogy, most notably in [[cognitive science]].
 
==Usage of the terms "source" and "target"==