ผลต่างระหว่างรุ่นของ "แจ้ง คล้ายสีทอง"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
InternetArchiveBot (คุย | ส่วนร่วม)
Rescuing 1 sources and tagging 0 as dead.) #IABot (v2.0.8
InternetArchiveBot (คุย | ส่วนร่วม)
Rescuing 6 sources and tagging 2 as dead.) #IABot (v2.0.8.1
บรรทัด 30:
{{ศิลปินกรมศิลปากร}}
[[ไฟล์:510726-8650-C.jpg‎|thumb|200px|right|รูปงาน “แปดทศวรรษ ครูสุดจิตต์ ดุริยประณีต” ศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง (คีตศิลป์) ประจำปีพุทธศักราช ๒๕๓๖ ณ บริเวณ สวนสันติชัยปราการ หัวมุมถนนพระอาทิตย์ แขวงชนะสงคราม เขตพระนคร กรุงเทพฯ วันเสาร์ที่ ๒๖ กรกฎาคม ๒๕๕๑]]
'''ครูแจ้ง คล้ายสีทอง''' เป็น[[ศิลปินแห่งชาติ]]<ref>{{Cite web |url=http://art.culture.go.th/ |title=ประจำปีพุทธศักราช ๒๕๓๘ สาขาศิลปะการแสดง (คีตศิลป์) |access-date=2007-06-25 |archive-date=2007-06-26 |archive-url=https://web.archive.org/web/20070626065856/http://art.culture.go.th/ |url-status=dead }}</ref><ref>http://art.culture.go.th/index.php?case=artistDetail&pic_id=519&art_id=109</ref><ref>{{Cite web |url=http://www.culture.go.th/supreme/artist_project.php?no=3&subno=3&subdetail=4&artistNo=54#show |title=สำเนาที่เก็บถาวร |access-date=2007-06-25 |archive-date=2007-09-29 |archive-url=https://web.archive.org/web/20070929091825/http://www.culture.go.th/supreme/artist_project.php?no=3&subno=3&subdetail=4&artistNo=54#show |url-status=dead }}</ref> มีความเชี่ยวชาญในการขับร้องเพลงไทย และขับเสภา หนึ่งในตำนานศิลปินพื้นบ้านของ[[จังหวัดสุพรรณบุรี]]
 
== ประวัติ ==
บรรทัด 68:
ในช่วงที่ครูแจ้งอยู่วงดนตรีดุริยประณีตนั้น ซึ่งตรงกับสมัย[[จอมพล ป.พิบูลสงคราม]] เป็น[[นายกรัฐมนตรี]] เป็นยุคสมัยที่มีการสนับสนุนให้แสดงลิเก ซึ่งได้เปลี่ยนเรียกว่า นาฏดนตรี มีการแสดงสดส่งกระจายเสียงตามวิทยุต่าง ๆ จนเป็นที่นิยมอย่างแพร่หลาย ลิเกหลายคณะได้ใช้วงปี่พาทย์วงดุริยประณีต หรือวงบ้านบางลำพูในการบรรเลง ต่อมาครูแจ้งก็ได้เลื่อนเป็นนายวง และเป็นคนตีระนาดเอกเอง ส่วนใหญ่จะแสดงประจำสถานีวิทยุที่กรมการรักษาดินแดนและเมื่อคณะลิเกขาดตัวแสดงตัวใดตัวหนึ่ง ครูแจ้งก้จะมักเป็นผู้แสดงแทน ซึ่งครูแจ้งสามารถแสดงได้ดีทุกตัว จนบางคณะต้องติดต่อให้ครูแจ้งแสดงเป็นพระเอก โดยใช้ชื่อในการแสดงลิเกว่า "อรุณ คล้ายสีทอง"
 
ในยุคแรก ๆ ของสถานีโทรทัศน์[[ช่อง 4]] บางขุนพรหม วงดนตรีดุริยประณีตได้มีโอกาสบรรเลงดนตรีไทยออกอากาศอยู่เป็นประจำ มี''นายสุพจน์ ( ปื๊ด ) โตสง่า'' <ref>[http://www.krudontri.com/articles/111music_men/pages/image/imagepage97.html] {{Webarchive|url=https://web.archive.org/web/20081106094542/http://www.krudontri.com/articles/111music_men/pages/image/imagepage97.html |date=2008-11-06 }} ผู้มีฉายาระนาดน้ำค้าง บุตรนายพุ่ม [http://mulinet3.li.mahidol.ac.th/elib/cgi-bin/opacexe.exe?op=dsp&wa=A07C2E9&bid=227&qst=@418, @2928, ^&lang=0&db=MUSIC&pat=%e2%b5%ca%a7%e8%d2&cat=gen&skin=u&lpp=20&catop=&scid=zzz] [http://mulinet3.li.mahidol.ac.th/elib/cgi-bin/opacexe.exe?op=dsp&wa=936C180&bid=126&qst=@2801&lang=0&db=MUSIC&pat=%e0%a2%d5%c2%c7%c7%d4%a8%d4%b5%c3&cat=gen&skin=u&lpp=20&catop=&scid=zzz] [http://mulinet3.li.mahidol.ac.th/elib/music/pum_t.gif]</ref>
นางแม้น โตสง่า สามี นาง ดวงเนตร (น้อย) [http://www.oknation.net/blog/print.php?id=35100] บุตรสาวนางแช่มช้อย ดุริยประณีต[http://mulinet3.li.mahidol.ac.th/elib/cgi-bin/opacexe.exe?op=dsp&wa=802BF7D&bid=43&qst=@1613, @1965, ^&lang=0&db=MUSIC&pat=%b4%d8%c3%d4%c2%bb%c3%d0%b3%d5%b5&cat=gen&skin=u&lpp=20&catop=&scid=zzz] [http://mulinet3.li.mahidol.ac.th/elib/music/chamchoi_d.gif]– นายเหนี่ยว ดุริยพันธ์ [http://mulinet3.li.mahidol.ac.th/elib/cgi-bin/opacexe.exe?op=dsp&wa=H42BA41&bid=216&qst=@2813&lang=0&db=MUSIC&pat=%e0%cb%b9%d5%e8%c2%c7+%b4%d8%c3%d4%c2%be%d1%b9%b8%ec&cat=gen&skin=u&lpp=20&catop=&scid=zzz]และเป็นบิดาของ ณรงค์ฤทธิ์ (ปอง) โตสง่า ขุนอิน [http://www.khun-in.com/history.htm] {{Webarchive|url=https://web.archive.org/web/20080917134856/http://www.khun-in.com/history.htm |date=2008-09-17 }} [http://www.boythaiband.net/profile.html] {{Webarchive|url=https://web.archive.org/web/20090520181825/http://www.boythaiband.net/profile.html |date=2009-05-20 }} และชัยยุทธ (ป๋อม) โตสง่า เป็นผู้บรรเลงระนาดเอก ในการร้องบรรเลงการสวมรับ และการส่งร้องเพลงบุหลันเถา เฉพาะในตอน 2 ชั้น และชั้นเดียว ปรากฏว่าผู้ร้องไม่มา นายแจ้ง คล้ายสีทอง จึงได้ร้องเพลงแทน [ ข้อมูลบางแห่งระบุว่าร้องอยู่ที่บ้านดุริยประณีต ] มีครูผู้ใหญ่นั่งฟังกันหลายคน และได้กล่าวชมน้ำเสียงขับร้องว่าเหมาะสม แต่ควรปรับปรุงวิธีการรร้องและ ลีลาการร้อง ครูโชติ ดุริยประณีต [http://mulinet3.li.mahidol.ac.th/elib/cgi-bin/opacexe.exe?op=dig&db=MUSIC&pat=code&cat=aut&skin=u&lpp=16&catop=&scid=zzz&ref=A:@87&nx=1&lang=0] ได้ยินเข้าก็บอกว่า "แจ้งเสียงดี ฉันจะปั้นแจ้งนี่ล่ะ" แล้วครูโชติก็ให้กับ '''ครูสุดา (เชื่อม) เขียววิจิตร''' [http://mulinet3.li.mahidol.ac.th/elib/cgi-bin/opacexe.exe?op=dsp&wa=H42BA41&bid=201&qst=@2813&lang=0&db=MUSIC&pat=%e0%cb%b9%d5%e8%c2%c7+%b4%d8%c3%d4%c2%be%d1%b9%b8%ec&cat=gen&skin=u&lpp=20&catop=&scid=zzz] ต่อเพลงให้ร้อง วันรุ่งขึ้นนายแจ้งเอาดอกไม้ธูปเทียนมาไหว้ครูเชื่อม ครูให้ต่อเพลง โดยเพลงแรกที่ฝีกร้องก็คือเพลง "เขมรราชบุรีสามชั้น" ตอนที่ฝึกตอนแรก ๆ เฉพาะท่อน "ชะรอยกรรมจำพราก" ท่อนเดียวร้องอยู่เกือบเดือน พอได้แล้วค่อยไปอีกหน่อย ทั้งเพลงใช้เวลาเดือนกว่า เพราะถ้าร้องไม่ได้อารมณ์ ครูไม่ต่อเพลงให้ ต่อจากนั้นก็ได้มีการต่อเพลงอื่น ๆ อีกหลายเพลง จนสามารถนำไปร้องเข้ากับวงดนตรีในงานต่าง ๆ ได้เป็นอย่างดี และมีความไพเราะ เนื่องจากมีพรสวรรค์ทางด้านเสียงอยู่แล้ว เมื่อได้รับการ ฝึกหัดอย่างถูกวิธี ก็ฝึกได้อย่างรวดเร็ว และสามารถขับร้องได้ดีมากขึ้น
 
หลังจากต่อเพลงได้มา 4-5 เพลง ในปี 2506 ครูแจ้งก็เล่าว่าก็มีคนส่งเข้าประกวดร้องเพลงของสถานีวิทยุ ว.ป.ถ.กรมการทหารสื่อสาร ใช้ชื่อว่า "อภัย" เข้าไปอัดเสียงอยู่ 2 หน 4 เพลง ให้กรรมการฟังเสียง เคาะเป๊งต้องร้องให้ตรงเสียง ผิดเสียงไม่ได้ โดนตัดคะแนน ครั้งนั้นครูแจ้งได้ที่ 1 พอประกวดได้ที่ 1 ก็มีชื่อเสียงเป็นที่โด่งดัง ทั้งทหารบก ทหารเรือ ทหารอากาศ ตำรวจ มาติดต่อครุแจ้งให้ไปเข้าวงดนตรี ครุแจ้งจะไปแล้วแต่พอครูโชติรู้เข้าก็บอกว่าอย่าไป และไปฝากไว้กับ นาย[[ธนิต อยู่โพธิ์]] อดีตอธิบดีกรมศิลปากร ครูโชติบอกว่าไม่ต้องการให้ไปอยู่วงเพลงไทยสากล โดยอธิบายว่าถ้าไปก็ร้องได้แต่เพลงเถา ร้องส่งปี่พาทย์ไม่ได้อะไร ถ้าอยู่กรมศิลปากรจะได้หมดทั้ง โขน ละคร ฟ้อน รำ เห่ ขับ กล่อม
บรรทัด 76:
พ.ศ. 2508 นายแจ้ง ให้เข้ามารับราชการ ที่กรมศิลปากร และเมื่อเวลานาย ธนิต อยู่โพธิ์ไปราชการที่ใด ท่านก็จะเอาทั้งอาจารย์ เสรี หวังในธรรม [[ศิลปินแห่งชาติ]] [[พ.ศ. 2531]] สาขาศิลปการแสดง ศิลปการละคร <ref>{{Cite web |url=http://www.culture.go.th/supreme/artist_project.php?no=3&subno=3&subdetail=4&artistNo=21#show |title=สำเนาที่เก็บถาวร |access-date=2008-10-05 |archive-date=2007-09-26 |archive-url=https://web.archive.org/web/20070926230014/http://www.culture.go.th/supreme/artist_project.php?no=3&subno=3&subdetail=4&artistNo=21#show |url-status=dead }}</ref>และนายแจ้งไปไหนมาไหนด้วยตลอดกันตลอดไม่ว่าจะเป็นในประเทศไทย หรือจะเป็นต่างประเทศ
 
นายแจ้งเริ่มต้นเข้ารับราชการในตำแหน่งคีตศิลปินจัตวา หรือตำแหน่งขับร้องเพลงไทย แผนกดุริยางค์ไทย กองการสังคีต กรมศิลปากร เมื่อเข้ามาอยู่ที่กรมศิลปากรซึ่งมีแต่ครูชั้นเลิศทั้งนั้น มีทั้งครูที่สอนนายแจ้งมาก่อน และยังมีครูเหนี่ยว ดุริยพันธ์ น้องเขยครูโชติและพ่อตานายสุพจน์ โตสง่า ครู[[ท้วม ประสิทธิกุล]] [[ศิลปินแห่งชาติ]] [[พ.ศ. 2529]] สาขาศิลปะการแสดง ดนตรีไทย [http://art.culture.go.th/index.php?case=artistDetail&art_id=101&pic_id=&side=musicth][http://mulinet3.li.mahidol.ac.th/elib/cgi-bin/opacexe.exe?op=dsp&wa=K47D230&bid=59&qst=@1231, @2363, ^, @17, ^&lang=0&db=MUSIC&pat=%b7%e9%c7%c1+%bb%c3%d0%ca%d4%b7%b8%d4%a1%d8%c5&cat=gen&skin=u&lpp=20&catop=&scid=zzz][http://mulinet3.li.mahidol.ac.th/elib/music/thome_p.gif] [http://www.krudontri.com/articles/111music_men/pages/image/imagepage30.html]{{ลิงก์เสีย|date=ตุลาคม 2021 |bot=InternetArchiveBot |fix-attempted=yes }} ครูนิภา อภัยวงศ์ [http://mulinet3.li.mahidol.ac.th/elib/cgi-bin/opacexe.exe?op=dsp&wa=859C043&bid=72&qst=@1581&lang=0&db=MUSIC&pat=%ca%d8%b4%d2&cat=gen&skin=u&lpp=20&catop=&scid=zzz] [http://mulinet3.li.mahidol.ac.th/elib/cgi-bin/opacexe.exe?op=dsp&wa=943C207&bid=210&qst=@2802&lang=0&db=MUSIC&pat=%e0%a2%d5%c2%c7%c7%d4%a8%d4%b5%c3&cat=gen&skin=u&lpp=20&catop=&scid=zzz] ครูสงัด ยมะคุปต์สามีครูลมุล ยมะคุปต์ ครูเสรี หวังในธรรม เข้าไปต้องฝึกหมดทุกอย่าง แต่ไม่ต้องเก่งหมด เพราะคนเราไม่ได้เก่งไปทุกด้าน
 
การทำงานในระยะแรก นายแจ้งต้องปรับปรุงการร้องเพลงใหม่ เพราะจะต้องร้องให้เข้ากับบทบาทตัวละครที่กำลังแสดง เมื่อเข้าไปต้องฝึกหมดทุกอย่าง แต่ไม่ต้องเก่งหมด เพราะคนเราไม่ได้เก่งไปทุกด้าน ด้วยความอุตสาหะและ เอาใจใส่ก็สามารถปฏิบัติได้อย่างถูกต้อง นอกจากนี้ยัง พยายามฝึกฝนหาความรู้เพิ่มเติมอยู่เสมอ โดยการฝึกหัดร้องเพลงและศึกษาการขับร้องของ ครูดนตรีรุ่นเก่า ที่มีชื่อเสียง เพื่อเป็นแนวทางการ ขับร้องให้ดียิ่งขึ้น บุคคลที่นายแจ้ง คล้ายสีทอง ให้ความเคารพนับถืออีกท่านหนึ่ง คือนายเสรี หวังในธรรม ผู้ให้การสนับสนุนแนะนำวิธีการร้องต่าง ๆ แก่นายแจ้งตลอดมา
บรรทัด 90:
ตอนนั้นนายแจ้งและภรรยาเช่าบ้านอยู่แถวปากน้ำ [[จังหวัดสมุทรปราการ]] นางบุญนะขายของ 2 รอบ เช้ากับเย็น ตื่นตี 5 ติดไฟย่างตอนตี 5 ครึ่ง แม่ค้าที่ขายในโรงงานมารับ ของขายก็ห่อมาจากบ้าน นับว่าทำกันเป็นอุตสาหกรรมในครอบครัว ลูก ๆ ต่างก็ช่วยกัน ช่วงเวลานั้นมีเงินเก็บเป็นแสน มีเงินก็ซื้อทองเก็บไว้ เก็บได้เกือบประมาณ 30 บาททีเดียว ที่เหลือก็เก็บสะสมจนสามารถซื้อที่ดินแปลงที่ปลูกบ้านหลังนี้ได้ ในการรับงานการแสดงส่วนใหญ่ นางบุญนะจะต้องเป็นคนรับงานเอง รับงานขับเสภาทั่วไป ในพิธีต่าง ๆ ขึ้นบ้านใหม่ งานบวช งานศพ หลังจากนั้นก็เลยไม่ได้ขายของ อีก
 
ทุกวันนี้ครูแจ้งยังมีภารกิจที่ต้องสอนหนังสือในสถาบันการศึกษาหลาย ๆ แห่ง ทั้งวิทยาลัยนาฏศิลปสุพรรณบุรี<ref>[{{Cite web |url=http://cdasp.bpi.ac.th/home001.htm] |title=สำเนาที่เก็บถาวร |access-date=2008-10-05 |archive-date=2008-10-17 |archive-url=https://web.archive.org/web/20081017100655/http://cdasp.bpi.ac.th/home001.htm |url-status=dead }}</ref> [[มหาวิทยาลัยราชภัฎ]]ต่าง ๆ ในวิชา "คีตศิลป์” หลายแห่งเป็นประจำ เพื่อเป็นการถ่ายทอดความรู้ ประสบการณ์ และจิตวิญญาณด้านคีตศิลป์ ให้อนุชนรุ่นหลัง แล้วก็จะมีนักศึกษาที่จะต้องทำวิทยานิพนธ์ ด้านคีตศิลป์ สอนเรื่องการใช้ภาษาไทย วรรณคดี และเรื่องอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องโดยเป็นวิชาที่ครูแจ้งสอนสอนประจำ
 
== การขับเสภา ==
บรรทัด 140:
{{รายการอ้างอิง}}
{{เริ่มอ้างอิง}}
* แจ้ง คล้ายสีทอง [http://www.matichon.co.th/news_detail.php?newsid=38387] [http://www.bloggang.com/mainblog.php?id=sanamluang&month=06-05-2008&group=26&gblog=1][http://www.bloggang.com/viewdiary.php?id=sanamluang&month=06-2008&date=21&group=26&gblog=2][http://www.monstudies.com/article_image/voiceofmon11_copy2.pdf]{{ลิงก์เสีย|date=ตุลาคม 2021 |bot=InternetArchiveBot |fix-attempted=yes }}
* สูจิบัตรการแสดงดนตรีไทยโดยครูอาวุโสชายแห่งกรุงรัตนโกสินทร์ เนื่องในโอกาส สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงเจริญพระชนมายุครบ ๕๓ พรรษา พุทธศักราช ๒๕๕๑ วันที่ ๕ มิถุนายน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ณ.ศุนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย [ กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย, 2551], [http://ancientism.multiply.com/photos/album/15/15] {{Webarchive|url=https://web.archive.org/web/20091203003711/http://ancientism.multiply.com/photos/album/15/15 |date=2009-12-03 }}
{{จบอ้างอิง}}