ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เปรียญธรรม 9 ประโยค"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขขั้นสูงด้วยอุปกรณ์เคลื่อนที่
InternetArchiveBot (คุย | ส่วนร่วม)
Rescuing 3 sources and tagging 0 as dead.) #IABot (v2.0.8.1
บรรทัด 2:
'''เปรียญธรรม 9 ประโยค''''' (ชื่อย่อ ป.ธ.9) '' เป็นระดับชั้นสูงสุด ของการศึกษาแผนกบาลีของคณะสงฆ์ไทย<ref>[http://www.baanjomyut.com/library/law/37.html พระราชบัญญัติกำหนดวิทยฐานะผู้สำเร็จวิชาการพระพุทธศาสนา พ.ศ. 2527 มาตรา 4 แก้ไขโดยพระราชบัญญัติฯ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2540]</ref>
 
แต่เดิมภาษาบาลีคือภาษามคธที่คนในแคว้นมคธใช้พูดกันเท่านั้น เพราะภาษาบาลีไม่มีอักษรใช้เขียนเป็นตัวหนังสือ พระพุทธเจ้าตรัสสอนธรรมด้วยภาษามคธเพราะแคว้นมคธเป็นแคว้นใหญ่ เหตุที่ภาษาบาลีไม่มีอักษรเขียน จึงต้องอาศัยอักษรจากภาษาอื่นเป็นตัวเขียน เช่น อักษรเทวนาครี อักษรขอม อักษรไทย อักษรโรมัน เป็นต้น ในปัจจุบันภาษาบาลีถือว่าเป็นภาษาที่ตายแล้ว เหมือนภาษาละติน ถึงแม้มีคนใช้พูดอยู่ก็น้อยมาก ในพระพุทธศาสนามีเพียงนิกายเถรวาทที่ใช้ภาษาบาลี เช่นในพระไตรปิฎก เป็นต้น <ref>[{{Cite web |url=https://th.answers.yahoo.com/question/index?qid=20110806032541AAuiDo4 |title=ภาษาบาลี สันสกฤต ยังใช้พูดกันหรือไม่ ประเทศไหน?] |access-date=2016-08-15 |archive-date=2020-09-27 |archive-url=https://web.archive.org/web/20200927104639/https://th.answers.yahoo.com/question/index?qid=20110806032541AAuiDo4 |url-status=dead }}</ref>
 
กระทรวงศึกษาธิการ ได้รับรองให้ผู้สำเร็จวิชาเรียน ป.ธ. 9 เทียบเท่ากับการสำเร็จปริญญาตรี เพราะเมื่อเปรียบเทียบวิชาในหลักสูตรที่มีอยู่ การสำเร็จ ป.ธ.9 ก็เสมือนกับการสำเร็จวิชาการศึกษาภาษาศาสตร์วิชาหนึ่งเท่านั้น ที่สามารถแปลความได้ แต่งบทความได้ สื่อสารได้ แต่อย่างไรก็ตาม ปัจจุบันมีความพยายามที่จะผลักดันให้ ป.ธ.9 เทียบเท่าระดับปริญญาเอกทางโลก<ref>[{{Cite web |url=http://www.phrathai.net/node/391 |title=เสนอเทียบเปรียญ 9 เท่าปริญญาเอก] |access-date=2008-01-19 |archive-date=2008-05-16 |archive-url=https://web.archive.org/web/20080516221946/http://www.phrathai.net/node/391 |url-status=dead }}</ref>
 
ข้อสังเกตในการเสนอเทียบ ป.ธ. 9 เท่าปริญญาดุษฎีบัณฑิตฝ่ายทางโลกนั้น ควรได้พิจารณาว่ามีความเหมาะสมเพียงใดและเพื่อประโยชน์อย่างใด ในเมื่อตามกฎหมายไทยเทียบวุฒิเท่าระดับปริญญาตรี ซึ่งมีความเหมาะสมทั้งประโยชน์และคุณวุฒิอยู่แล้ว สำหรับปริญญาดุษฎีบัณฑิตฝ่ายทางโลกเสนอให้แต่ผู้สมควรที่มีผลงานการวิจัยบนเรื่องใหม่ๆ ที่ไม่เคยมีใครได้ทำการวิจัยเช่นนั้นมาก่อน ตามกฎหมายที่ใช้ในปัจจุบันจึงเห็นควรให้ ป.ธ. 9 เทียบวุฒิเท่าระดับปริญญาตรี ซึ่งมีความเหมาะสมอยู่แล้ว ถ้าผู้ได้รับ ป.ธ. 9 ต้องการศึกษาต่อขั้นปริญญาดุษฎีบัณฑิต จะสามารถเข้าศึกษาต่อในมหาวิทยาลัยที่มีหลักสูตรตามความต้องการได้ อย่างเช่นผู้สำเร็จปริญญาตรีทางภาษาศาสตร์ เช่น อังกฤษ ฝรั่งเศส จีน เป็นต้น ซึ่งมีความสามารถ เขียน อ่าน แปล พูด ได้อย่างดีเหมือนพระสงฆ์ที่มีความสามารถทางภาษาบาลีสอบผ่านได้ ป.ธ. 9 แต่ถ้าผู้สำเร็จปริญญาตรีทางภาษาศาสตร์จากมหาวิทยาลัยทางโลกจะศึกษาต่อปริญญาดุษฎีบัณฑิต จำเป็นต้องศึกษาต่อและปฏิบัติตามความต้องการของมหาวิทยาลัยที่ศึกษาต่อนั้น
บรรทัด 28:
[[พระภิกษุ]][[สามเณร]]ผู้สอบไล่ได้เปรียญธรรม 9 ประโยค จะได้รับประกาศนียบัตร พระราชทาน[[พัดยศ]]เปรียญธรรม ทรงตั้งเป็น "เปรียญ 9 ประโยค" มีศักดิ์และสิทธิ์ตามหลักสูตรของ[[มหาวิทยาลัยสงฆ์]]ทั้ง 2 แห่ง<ref>เทียบเท่าผู้สอบได้หลักสูตรคณะพุทธศาสตร์ ของ[[มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย]] และ [[มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย]]</ref>
 
ผู้สอบไล่ได้เปรียญธรรม 9 ประโยค ตามโบราณราช[[ประเพณี]][[พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว]] จะเสด็จพระราชดำเนินไปพระราชทานประกาศนียบัตรพัดยศ และ[[ไตรจีวร]]ด้วยพระองค์เอง ณ พระ[[อุโบสถ]][[วัดพระศรีรัตนศาสดาราม]] <ref>[{{Cite web |url=http://www.onab.go.th/NewPublic/0078.htm |title=บัญชีรายนามพระภิกษุสามเณรที่สอบไล่ได้เปรียญธรรม 9 ประโยค และ 6 ประโยค ประจำปี 2550 สำนักเลขาธิการมหาเถรสมาคม] |access-date=2007-05-04 |archive-date=2007-09-28 |archive-url=https://web.archive.org/web/20070928021817/http://www.onab.go.th/NewPublic/0078.htm |url-status=dead }}</ref>
 
พระเปรียญธรรม 9 ประโยค มีสมณศักดิ์อันดับในงานพระราชพิธี - รัฐพิธี เหนือกว่า พระครูสัญญาบัตร เจ้าอาวาสพระอารามหลวง ชั้นโท (จล.ชท.) <ref>[[สมณศักดิ์#ลำดับพัดยศสมณศักดิ์ ฐานานุกรม เปรียญในงานพระราชพิธี - รัฐพิธี|ลำดับพัดยศสมณศักดิ์ ฐานานุกรม เปรียญในงานพระราชพิธี - รัฐพิธี]]</ref>