ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สำนักงานกองทุนสงเคราะห์การทำสวนยาง"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขด้วยแอปสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
InternetArchiveBot (คุย | ส่วนร่วม)
Rescuing 0 sources and tagging 2 as dead.) #IABot (v2.0.8.1
 
บรรทัด 88:
|แผนที่_บรรยาย =
}}
'''สำนักงานกองทุนสงเคราะห์การทำสวนยาง''' (Office of the Rubber Replanting Aid Fund) หรือ สกย. (ORRAF) เป็นอดีต[[รัฐวิสาหกิจ]] ประเภทส่งเสริมที่ไม่แสวงหากำไร สังกัด[[กระทรวงเกษตรและสหกรณ์]] ตั้งขึ้นตามพระราชบัญญัติกองทุนสงเคราะห์การทำสวนยาง พ.ศ. 2503 (ปรับปรุง พ.ศ. 2505 พ.ศ. 2518 และ พ.ศ. 2530)<ref>[http://www.rubber.co.th/article_attach/02.pdf พระราชบัญญัติกองทุนสงเคราะห์การทำสวนยาง พ.ศ. 2503]{{ลิงก์เสีย|date=ตุลาคม 2021 |bot=InternetArchiveBot |fix-attempted=yes }}</ref> เพื่อดำเนินกิจการให้การสงเคราะห์การทำสวนยาง และการสงเคราะห์ปลูกแทนด้วยไม้ยืนต้นชนิดอื่นที่มีความสำคัญทางเศรษฐกิจ
 
นอกจากนี้รัฐบาลยังมอบนโยบาย ให้ สกย. ช่วยเหลือเกษตรกรชาวสวนยาง ให้รวมตัวจัดตั้งสหกรณ์กองทุนสวนยาง โดยจัดสรรงบประมาณสร้างโรงผลิตยางแผ่นผึ่งแห้ง / รมควัน ให้กับกลุ่มเกษตรกร เพื่อแปรรูปผลผลิต เป็นยางแผ่นรมควัน หรือ อบแห้ง สำหรับกลุ่มเกษตรกรที่รวมตัวกัน ไม่มากพอ ที่จะจัดตั้งสหกรณ์ รัฐก็ให้ สกย. จัดสร้างโรงเรือนผลิตยางแผ่นดิบคุณภาพดี ให้ นอกจากนั้นรัฐยังมอบหมาย ให้ สกย. จัดตลาดประมูลยางระดับท้องถิ่น เพื่อให้เกษตรกร และพ่อค้ามาซื้อขายผลผลิต ที่ได้คุณภาพมาตรฐาน และราคาที่เป็นธรรม
บรรทัด 108:
 
== การแบ่งส่วนบริหารองค์กร ==
สำนักงานกองทุนสงเคราะห์การทำสวนยาง มีสำนักงานใหญ่ตั้งอยู่ที่ 67/25 ถนนบางขุนนนท์ [[เขตบางกอกน้อย]] [[กรุงเทพมหานคร]] แบ่งการบริหารงานออกเป็น 12 ฝ่าย และมีสำนักงานกองทุนสงเคราะห์การทำสวนยางจังหวัด 46 แห่ง สำนักงานกองทุนสงเคราะห์การทำสวนยางอำเภอ 56 แห่ง ศูนย์ปฏิบัติการสงเคราะห์สวนยางจังหวัด 12 แห่ง และศูนย์เรียนรู้ยางพารา 4 แห่ง<ref>[http://www.rubber.co.th/ewt_news.php?nid=1561 โครงสร้างหน่วยงาน]{{ลิงก์เสีย|date=ตุลาคม 2021 |bot=InternetArchiveBot |fix-attempted=yes }}</ref> ตั้งอยู่ในพื้นที่ที่มีการปลูกยางพารา ครอบคลุมภูมิภาคต่างๆ ทั้ง[[ภาคเหนือ]] [[ภาคใต้]] [[ภาคตะวันออก]] และ[[ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ]]
 
== อ้างอิง ==