ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อัตราเร็วของเสียง"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: ย้อนด้วยมือ แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
The Mark-7032 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{ลิงก์ไปภาษาอื่น}}
'''อัตราเร็วของเสียง''' คือ [[ระยะทาง]]ที่[[เสียง]]เดินทางไปในตัวกลางใดๆใด ๆ ได้ในหนึ่งหน่วยเวลา โดยทั่วไปเสียงเดินทางในอากาศที่มีอุณหภูมิ 25°C (= 298,15 K) ได้ประมาณ 346 เมตร/วินาที และในอากาศที่อุณหภูมิ 20°C ได้ประมาณ 343 เมตร/วินาที อัตราเร็วที่เสียงเดินทางได้นั้นอาจมีค่ามากขึ้นหรือน้อยลงขึ้นอยู่กับ[[อุณหภูมิ]]ของตัวกลางเป็นหลัก และอาจได้รับอิทธิพลจาก[[ความชื้น]]บ้างเล็กน้อย แต่ไม่ขึ้นกับ[[ความดันอากาศ]]
 
เนื่องจากการเดินทางของเสียงอาศัยการสั่นของโมเลกุลของตัวกลาง ดังนั้นเสียงจะเดินทางได้เร็วขึ้นหากตัวกลางมี[[ความหนาแน่น]]มาก ทำให้เสียงเดินทางได้เร็วในของแข็ง แต่เดินทางไม่ได้ในอวกาศ เพราะอวกาศเป็น[[สุญญากาศ]]จึงไม่มีโมเลกุลของตัวกลางอยู่
บรรทัด 90:
''T''<sub>25</sub> = 298.15 K (= 25&#160;°C = 77&#160;°F) ความเร็วเสียง 346.3 m/s (= 1136.2 ft/s = 1246 km/h = 774.7 mph = 672.7 นอต
 
ในกรณีของ[[ก๊าซในอุดมคติ]] อัตราเร็วของเสียง ''c'' ขึ้นกับอุณหภูมิเท่านั้น โดย'''ไม่ขึ้นกับความดัน''' อากาศนั้นเกือบจะถือได้ว่าเป็นก๊าซในอุดมคติ อุณหภูมิของอากาศเปลี่ยนแปลงตามระดับความสูง เป็นผลให้อัตราเร็วของเสียงที่ระดับความสูงต่างๆต่าง ๆ นั้นแตกต่างกัน
 
{| class="wikitable"
บรรทัด 145:
'''[[เลขมัค]]''' คือ อัตราส่วนอัตราเร็วของวัตถุ ต่อ '''อัตราเร็วของเสียง''' ในอากาศ (หรือตัวกลางนั้น)
 
การเคลื่อนที่ของวัตถุใดๆใด ๆ ด้วยอัตราเร็วเท่ากับเสียง ณ ตำแหน่งนั้น จะเรียกว่าอัตราเร็ว 1 [[มัค]] (Mach) ในทำนองเดียวกันถ้าเคลื่อนที่ด้วยอัตราเร็ว 2 เท่าของอัตราเร็วของเสียงวัตถุนั้นก็จะมีความเร็วเป็น 2 มัค
 
== ตัวอย่างอัตราเร็วของเสียงในตัวกลางต่าง ๆ ==
บรรทัด 179:
== การใช้อัตรเร็วของเสียงวัดระยะทาง ==
1. '''ความหนาแน่นของตัวกลาง''' อัตราเร็วในตัวกลางที่มีความหนาแน่นมากกว่าจะมีค่ามากกว่าในตัวกลางที่มีความหนาแน่นน้อยกว่า
2. '''อุณหภูมิ'''อัตราเร็วเสียงจะแปรผันตรงกับรากที่ 2 ของอุณหภูมิเคลวิน เพราะอุณหภูมิสูงขึ้นจะทำให้โมเลกุล มีพลังงานจลน์มากขึ้นการอัดตัวและขยายตัวเร็ว ทำให้เสียงเคลื่อนที่ได้เร็วขึ้น
จึงได้ว่า V ∝√T และสำหรับในอากาศนั้น เราสามารถหาอัตราเร็วเสียงที่อุณหภูมิต่าง ๆ ได้โดยอาศัย