ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พระนางมารีย์พรหมจารี"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
InternetArchiveBot (คุย | ส่วนร่วม)
Rescuing 1 sources and tagging 0 as dead.) #IABot (v2.0.8
InternetArchiveBot (คุย | ส่วนร่วม)
Rescuing 0 sources and tagging 1 as dead.) #IABot (v2.0.8.1
บรรทัด 18:
| ผู้พิทักษ์ =
}}
[[คริสต์ศาสนิกชน]][[โรมันคาทอลิก]]และ[[อีสเทิร์นออร์ทอดอกซ์|ออร์โธด็อกซ์]]เรียกนาง[[มารีย์ (มารดาพระเยซู)]] ว่า '''พระนางมารีย์พรหมจารี'''<ref>คณะกรรมการคาทอลิกเพื่อพิธีกรรม, [http://www.josephbanpong.org/site/images/stories/artcle/prayernew.pdf บทภาวนาของคริสตชน (ฉบับปรับปรุง ค.ศ. 2010)]{{ลิงก์เสีย|date=กันยายน 2021 |bot=InternetArchiveBot |fix-attempted=yes }}, หน้า 7</ref> ({{lang-en|the Blessed Virgin Mary}}) เพราะเชื่อว่าพระแม่มารีย์เป็น[[แม่พระพรหมจารีเสมอ|พรหมจารีเสมอ]] และ[[พระเยซู]]ซึ่งเชื่อว่าเป็น[[พระบุตรพระเป็นเจ้า]]ก็มา[[พระวจนะทรงรับเป็นมนุษย์|รับสภาพมนุษย์]]ผ่านทางพระครรภ์ของพระแม่มารีย์ จึงทำให้พระแม่มารีย์มีสถานะเป็น "[[พระมารดาพระเจ้า]]" ด้วย [[คริสตจักร]][[โรมันคาทอลิก]]ได้รับรองความเชื่อนี้มาตั้งแต่[[สังคายนาเอเฟซัสครั้งที่หนึ่ง]] ในปี ค.ศ. 431 ในสภาสังคายนาสากลครั้งต่อ ๆ มา เช่น [[สังคายนาวาติกันครั้งที่สอง]] และ[[พระสมณสาส์น]] "มารดาพระผู้ไถ่" ของ[[สมเด็จพระสันตะปาปาจอห์น ปอลที่ 2]] ได้แสดงถึงความสำคัญของพระแม่มารีย์ว่าเป็น[[มารดาคริสตจักร]]ด้วย
 
คริสตจักรโรมันคาทอลิกให้ความสำคัญกับพระแม่มารีย์อย่างมากในฐานะมารดาของพระเยซู การเคารพนับถือแม่พระแสดงออกมาในหลายรูปแบบ เช่น [[การอธิษฐานในศาสนาคริสต์|บทภาวนา]] [[กวีนิพนธ์]] และ[[ศิลปะศาสนาคริสต์|งานศิลปะ]]<ref>Santa Maria article http://www.time.com/time/magazine/article/0,9171,730158-1,00.html {{Webarchive|url=https://web.archive.org/web/20130611225748/http://www.time.com/time/magazine/article/0,9171,730158-1,00.html |date=2013-06-11 }}</ref><ref>''Merriam-Webster's encyclopedia of world religions'' by Wendy Doniger, 1999 ISBN 0-87779-044-2 page 696 [http://books.google.com/books?id=ZP_f9icf2roC&pg=PA696&dq=art+veneration+virgin+mary&hl=en&ei=112ZTJyCE8rLswbk2aWsDA&sa=X&oi=book_result&ct=result&resnum=2&ved=0CCkQ6AEwATg8#v=onepage&q=art%20veneration%20virgin%20mary&f=false]</ref><ref>''Symbolic scores: studies in the music of the Renaissance'' by Willem Elders 1997 ISBN 90-04-09970-0 page 151 [http://books.google.com/books?id=UFFJb3uNxdUC&pg=PA151&dq=art+veneration+virgin+mary&hl=en&ei=tGKZTIvnB8yOswangKWsDA&sa=X&oi=book_result&ct=result&resnum=1&ved=0CCQQ6AEwADhQ#v=onepage&q=art%20veneration%20virgin%20mary&f=false]</ref><ref>''Maiden and mother: Prayers, hymns, devotions, and songs to the Beloved Virgin Mary Throughout the Year'' by Margaret M. Miles 2001 ISBN 0-86012-305-7 page vii [http://books.google.com/books?id=PE6MlDNijNAC&pg=PR4&dq=Maiden+and+Mother+mary+%22+Margaret+M.+Miles%22&hl=en&ei=W5-ZTJisEsHLswaMgaWjDA&sa=X&oi=book_result&ct=result&resnum=1&ved=0CCUQ6AEwAA#v=onepage&q&f=false]</ref> [[พระสันตะปาปา]]หลาย ๆ พระองค์ก็ทรงส่งเสริมความเชื่อนี้มาตลอด จนทำให้ศาสนจักรคาทอลิกมีงานเฉลิมฉลองและมอบสถานะพิเศษแก่พระแม่มารีย์มากกว่าที่นิกายอื่น ๆ ในศาสนาคริสต์ทำมา<ref name="FrankFlinn">''Encyclopedia of Catholicism'' by Frank K. Flinn, J. Gordon Melton 2007 ISBN 0-8160-5455-X pages 443–444</ref>