ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ดาวเคราะห์นอกระบบ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
InternetArchiveBot (คุย | ส่วนร่วม)
Rescuing 14 sources and tagging 0 as dead.) #IABot (v2.0.8
InternetArchiveBot (คุย | ส่วนร่วม)
Rescuing 1 sources and tagging 2 as dead.) #IABot (v2.0.8.1
บรรทัด 154:
;1999, [[อัปซีลอนแอนดรอเมดา]]: เป็นระบบดาวเคราะห์แบบพหุระบบแรกที่โคจรรอบดาวฤกษ์ใน[[แถบลำดับหลัก]]ที่ถูกค้นพบ ประกอบด้วยดาวเคราะห์จำนวนสามดวง ทั้งหมดเป็นดาวเคราะห์ที่มีลักษณะคล้ายดาวพฤหัสบดี ได้แก่ ดาวเคราะห์ [[Upsilon Andromedae b]], [[Upsilon Andromedae c]], [[Upsilon Andromedae d]] ถูกค้นพบในปี ค.ศ. 1996, 1999 และ 1999 ตามลำดับ ดาวเคราะห์แต่ละดวงมีมวล 0.687, 1.97 และ 3.93 เท่าของมวลดาวพฤหัสบดี และมีรัศมีวงโคจรห่างจากดาวฤกษ์ 0.0595, 0.830 และ 2.54 หน่วยดาราศาสตร์ตามลำดับ <ref>{{cite journal | author=Blake Edgar, Megan Watzke, Carol Rasmussen | title=Multiple planets discovered around Upsilon Andromedae | journal= Extrasolar planets | year=1999 | issue= | volume=415, 617, 303 | pages=338 - 6747, 495 - 7463, 497 - 8611 |url=http://cfa-www.harvard.edu/afoe/upsAnd_pr.html}}</ref> ในปี ค.ศ. 2007 ได้มีการค้นพบว่าความเอียงของวงโคจรของดาวเคราะห์ในระบบดังกล่าวไม่ได้อยู่ในระนาบเดียวกัน
 
;1999, [[HD 209458 b]]: ดาวเคราะห์นอกระบบดวงนี้เดิมได้ถูกค้นพบโดยวิธีความเร็วแนวเล็ง และต่อมาเป็นดาวเคราะห์นอกระบบดวงแรกที่สามารถสังเกตเห็นปรากฏการณ์การเคลื่อนผ่าน ซึ่งช่วยยืนยันผลการตรวจจับดาวเคราะห์ต้องสงสัยที่ค้นพบด้วยวิธีการวัดความเร็วแนวเล็งว่ามีอยู่จริง<ref name="Henry">{{cite journal | author=Henry ''et al.'' | title=A Transiting "51 Peg-like" Planet | journal=The Astrophysical Journal Letters | year=2000 | volume=529 | issue=1 | pages=L41 – L44 | url=http://www.journals.uchicago.edu/doi/full/10.1086/312458 | doi=10.1086/312458 }}{{ลิงก์เสีย|date=กันยายน 2021 |bot=InternetArchiveBot |fix-attempted=yes }}</ref>
 
;2001, [[HD 209458 b]]: นักดาราศาสตร์ผู้ใช้งาน[[กล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิล]]ได้ประกาศว่า พวกเขาสามารถตรวจวัดชั้นบรรยากาศของดาวเคราะห์นอกระบบ HD 209458 b ได้ นักดาราศาสตร์ได้ค้นพบแถบสเปกตรัมของธาตุ[[โซเดียม]]ในชั้นบรรยากาศ แต่ก็มีความเข้มข้นน้อยกว่าที่คาดไว้ ซึ่งอาจเป็นผลจากการที่มีเมฆบดบังบรรยากาศชั้นล่างเป็นจำนวนมาก<ref>{{cite journal |author=Charbonneau ''et al.'' | title=Detection of an Extrasolar Planet Atmosphere | journal=The Astrophysical Journal | year=2002 | volume=568 | issue=1 | pages=377 – 384 | url=http://www.journals.uchicago.edu/doi/full/10.1086/338770 | doi=10.1086/338770}}</ref> ในปี ค.ศ. 2008 ได้มีการวัดค่าสัมประสิทธิ์การสะท้อนแสงของชั้นเมฆ โครงสร้างของชั้นบรรยากาศบ่งชี้ว่าเป็นบรรยากาศชั้น[[สตราโตสเฟียร์]]
 
;2001, [[Iota Draconis b]]: เป็นดาวเคราะห์นอกระบบดวงแรกที่ถูกค้นพบรอบดาว [[Iota Draconis]] ซึ่งเป็นดาวยักษ์สีส้ม เป็นหลักฐานสำคัญแสดงถึงการมีอยู่และพฤติกรรมของระบบดาวเคราะห์รอบดาวฤกษ์ยักษ์ ดาวยักษ์ส่งแสงสว่างเป็นช่วง ๆ แสดงถึงการมีอยู่ของดาวเคราะห์ ดาวเคราะห์ดวงนี้มีมวลมากและมีความรีของวงโคจรค่อนข้างมาก วงโคจรของมันมีระยะทางมากกว่าระยะทางจากโลกถึงดวงอาทิตย์ประมาณ 27.5 เปอร์เซ็นต์<ref>{{cite journal | url=http://www.journals.uchicago.edu/doi/full/10.1086/341629 | author=Frink ''et al.'' | title=Discovery of a Substellar Companion to the K2 III Giant Iota Draconis | journal=The Astrophysical Journal | issue=1 | volume=576 | year=2002 | pages=478 – 484 | doi=10.1086/341629 }}{{ลิงก์เสีย|date=กันยายน 2021 |bot=InternetArchiveBot |fix-attempted=yes }}</ref> ในปี ค.ศ. 2008 จุดศูนย์กลางของระบบจะมองเห็นอยู่ใน[[กระจุกดาวลูกไก่]] ใกล้กับดาว [[Epsilon Tauri]]
 
;2003, [[PSR B1620-26 b]]: ในวันที่ 10 มิถุนายน กลุ่มนักวิทยาศาสตร์นำโดย สเตน ซิกุร์ดสัน อาศัยข้อมูลจาก[[กล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิล]] ยืนยันถึงดาวเคราะห์นอกระบบที่มีอายุมากที่สุดเท่าที่มีการค้นพบ ดาวเคราะห์ดังกล่าวตั้งอยู่ใน[[กระจุกดาวทรงกลม]] [[เมสสิเยร์ 4|M4]] อยู่ห่างจากโลกไป 5,600 [[ปีแสง]]ในทิศทางของ[[กลุ่มดาว]][[กลุ่มดาวแมงป่อง|แมงป่อง]] นี่เป็นดาวเคราะห์ดวงเดียวที่เรารู้จักซึ่งพบว่าโคจรรอบ[[ระบบดาวคู่]] โดยที่ดาวดวงหนึ่งในระบบดาวคู่เป็น[[พัลซาร์]] และอีกดวงหนึ่งเป็น[[ดาวแคระขาว]] ดาวเคราะห์นี้มีมวลเป็นสองเท่าของดาวพฤหัสบดี และประมาณว่ามีอายุประมาณ 13,000 ล้านปี<ref>{{cite journal | author=Sigurdsson, S.; Richer, H.B.; Hansen, B.M.; Stairs I.H.; Thorsett, S.E. | title=A Young White Dwarf Companion to Pulsar B1620-26: Evidence for Early Planet Formation | journal= Science | year=2003 | volume=301 | issue=5630 | pages=193 - 196 | doi=10.1126/science.1086326 | pmid=12855802}}</ref>
บรรทัด 200:
;2009; [[COROT-Exo-7b]]: วันที่ 3 กุมภาพันธ์ 2009 [[องค์การอวกาศยุโรป]] (โดยดาวเทียม COROT ของฝรั่งเศส) ได้ประกาศการค้นพบดาวเคราะห์โคจรรอบดาวฤกษ์ COROT-Exo-7 ที่ระยะห่างน้อยกว่า 0.02 หน่วยดาราศาสตร์ แต่ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางของดาวเคราะห์มีค่าราว 1.7 เท่าของโลก ทำให้ดาวเคราะห์นี้เป็นดาว[[ซูเปอร์เอิร์ธ]]ขนาดเล็กที่สุดเท่าที่เคยตรวจพบ เนื่องจากดาวเคราะห์นี้พบในระยะประชิดกับดาวฤกษ์แม่มาก จึงเชื่อว่าอุณหภูมิพื้นผิวน่าจะสูงถึง 1000–1500 [[เซลเซียส|°C]]<ref>{{cite web|url=http://www.esa.int/esaCP/SEM7G6XPXPF_index_0.html |title=ESA Portal - COROT discovers smallest exoplanet yet, with a surface to walk on |publisher=Esa.int |date=2009-02-03 |accessdate=2009-04-23}}</ref>
;2009; [[กลีเซอ 581 อี]]: วันที่ 21 เมษายน 2009 [[หอดูดาวท้องฟ้าซีกใต้แห่งยุโรป]]ได้ประกาศการค้นพบดาวเคราะห์ดวงที่ 4 โคจรรอบดาว Gliese 581 ที่ระยะห่างน้อยกว่า 0.03 หน่วยดาราศาสตร์ ประเมินว่าดาวเคราะห์นี้มีมวลต่ำสุดประมาณ 1.9 เท่าของมวลโลก ทำให้เป็นดาวเคราะห์นอกระบบที่เบาที่สุดเท่าที่เคยมีการตรวจพบ<ref name="mayor">{{cite journal | url=http://obswww.unige.ch/~udry/Gl581_preprint.pdf |author=Mayor et al. |title=The HARPS search for southern extra-solar planets,XVIII. An Earth-mass planet in the GJ 581 planetary system |journal =[[Astronomy and Astrophysics]] |year=2009 |access-date=2009-10-06 |archive-date=2009-05-21 |archive-url=https://web.archive.org/web/20090521052641/http://obswww.unige.ch/~udry/Gl581_preprint.pdf |url-status=dead }}</ref>
 
=== ดาวเคราะห์นอกระบบดวงแรกที่ค้นพบในแบบต่าง ๆ ===