ผลต่างระหว่างรุ่นของ "CPO-STV"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Ekapoj yam (คุย | ส่วนร่วม)
Ekapoj yam (คุย | ส่วนร่วม)
 
บรรทัด 275:
==ผลกระทบ==
===ความเป็นไปได้ในการลงคะแนนเชิงกลยุทธ์===
เนื่องจากระบบ CPO-STV นั้นเป็นกรณีเดียวกับ[[การเลือกตั้งแบบถ่ายโอนคะแนนเสียง|ระบบถ่ายโอนคะแนนเสียง]]ซึ่งถือเป็น[[การเลือกตั้งระบบสัดส่วน]] จึงทำให้เกิดความเสี่ยงต่อการลงคะแนนเชิงกลยุทธ์ได้น้อยว่าระบบการเลือกตั้งแบบมีผู้ชนะคนเดียวแบบอื่นๆ อาทิเช่น [[ระบบแบ่งเขตคะแนนสูงสุด]] และ[[การลงคะแนนแบบหลายรอบในทันที]
 
อย่่างไรก็ตาม ระบบการลงคะแนน[[การเลือกตั้งแบบถ่ายโอนคะแนนเสียง|แบบถ่ายโอนคะแนนเสียง]]ทุกรูปแบบนั้นยังมีโอกาสเสี่ยงที่จะเกิดการลงคะแนนเสียงเชิงกลยุทธ์ได้เนื่องจากลักษณะของระบบนั้นขาดความเป็นทางเดียว (monotonicity) ซึ่งหมายความว่าในบางครั้งอาจเป็นไปได้ที่จะเอื้อประโยชน์ต่อผู้สมัครได้โดยการจัดลำดับ ''ต่ำกว่า'' ลำดับที่ตั้งใจเลือกจริว หรือเพื่อที่จะทำลายผู้สมัครโดยการจัดลำดับ ''สูงกว่า'' ในขณะที่ CPO-STV ไม่เชิงจะแก้ไขปัญหานี้ได้สมบูรณ์แต่สามารถลดปัญหานี้ได้มาก โดยการทำให้มีโอกาสที่เอื้อประโยชน์ต่อการใช้กลยุทธ์เพื่อเปลี่ยนแปลงผลการเลือกตั้งได้น้อยลง
 
===ผลกระทบต่อผู้สมัครและฝ่ายการเมือง===
===ข้อเสนอแนะในเชิงปฏิบัติ===
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/CPO-STV"