ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การเลือกตั้งระบบสัดส่วน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Ekapoj yam (คุย | ส่วนร่วม)
InternetArchiveBot (คุย | ส่วนร่วม)
Rescuing 4 sources and tagging 0 as dead.) #IABot (v2.0.8
บรรทัด 8:
* [[การให้มีผู้แทนแบบจัดสรรปันส่วนผสม|ระบบสัดส่วนผสม]] (MMP) หรือเรียกอีกอย่างว่า [[การเลือกตั้งระบบเสริมสมาชิกเพิ่มเติม|ระบบเสริมสมาชิกเพิ่มเติม]] (AMS) เป็นระบบการเลือกตั้งผสมซึ่งใช้ทั้งระบบเสียงส่วนใหญ่ และระบบสัดส่วนซึ่งใช้สำหรับ[[การเลือกตั้งแบบบัญชีรายชื่อ|บัญชีรายชื่อ]]ระดับภูมิภาค หรือระดับประเทศ โดยผู้มิสิทธิ์เลือกตั้งจะมี 2 เสียง โดยหนึ่งเสียงสำหรับรายชื่อผู้สมัครในเขตเลือกตั้ง และอีกเสียงสำหรับบัญชีรายชื่อ โดยพรรคการเมืองที่ไม่ได้รับเลือกในระดับเขตนั้น อาจจะได้รับเลือกในแบบบัญชีรายชื่อแทนได้ตามจำนวนคะแนนเสียงทั้งหมดในประเภทบัญชีรายชื่อ<ref name=ideaEsd>{{cite web|title=Electoral System Design: the New International IDEA Handbook|url=https://www.idea.int/publications/catalogue/electoral-system-design-new-international-idea-handbook|publisher=[[International Institute for Democracy and Electoral Assistance]]|access-date=9 April 2014|year=2005}}</ref> <ref name="ersAMS">{{cite web|title=Additional Member System|url=http://www.electoral-reform.org.uk/additional-member-system |publisher=[[Electoral Reform Society]] |access-date=16 October 2015 |location=London}}</ref>
 
จากรายงานของ ACE Electoral Knowledge Network<ref>{{cite web|url=http://aceproject.org/epic-en/CDTable?view=country&question=ES005|title=Electoral Systems Comparative Data, Table by Question|last1=ACE Project: The Electoral Knowledge Network|access-date=20 November 2014}}</ref> การเลือกตั้งระบบสัดส่วนถูกใช้ในการเลือกตั้ง[[สภาล่าง]]ในระดับชาติทั้งหมด 94 ประเทศ โดยเป็นระบบสัดส่วนแบบบัญชีรายชื่อถึง 85 ประเทศ ในขณะที่ระบบสัดส่วนผสมถูกใช้ในการเลือกตั้งสภาล่างใน 7 ประเทศ และแบบถ่ายโอนคะแนนเสียงถูกใช้ใน 2 ประเทศเท่านั้น คือ [[ประเทศไอร์แลนด์]]<ref name=ideaGallagher>{{cite web|title=Ireland: The Archetypal Single Transferable Vote System|url=http://www.community.netidea.com/ccbc/Gallagher.pdf|access-date=26 October 2014|last1=Gallagher|first1=Michael|archive-date=2017-10-20|archive-url=https://web.archive.org/web/20171020142236/http://www.community.netidea.com/ccbc/Gallagher.pdf|url-status=dead}}</ref> และ[[ประเทศมอลตา]]<ref name=maltaStv>{{cite web|title=Malta: STV in a two-party system|url=http://www.um.edu.mt/__data/assets/pdf_file/0011/179912/2pty.pdf|access-date=24 July 2014|last1=Hirczy de Miño|first1=Wolfgang, University of Houston|last2=Lane|first2=John, State University of New York at Buffalo|year=1999}}</ref> นอกเหนือจากสภาล่างยังใช้ใน[[วุฒิสภาออสเตรเลีย|วุฒิสภา]]ของ[[ออสเตรเลีย]] และ[[การเลือกตั้งแบบถ่ายโอนคะแนนเสียง]]ยังสามารถใช้สำหรับการเลือกตั้งแบบไม่แบ่งพรรคการเมืองได้ เช่นในกรณีของสภาเมืองเคมบริดจ์<ref name="amyHist" />
 
เนื่องจากปัจจัยต่างๆ อาทิเช่น [[เกณฑ์คะแนนเสียงขั้นต่ำ]] และการกำหนดเขตเลือกตั้งขนาดเล็ก รวมถึงวิธีการบิดเบือนผลการเลือกตั้ง เช่น การแยกพรรคการเมือง และ[[การแบ่งเขตเลือกตั้งแบบเอาเปรียบ]] จึงทำให้สัดส่วนที่สมบูรณ์แบบนั้นยากที่จะเกิดขึ้นได้ในการเลือกตั้งระบบเหล่านี้ แต่อย่างไรก็ตามยังถือว่าเข้าใกล้ความเป็นสัดส่วนมากกว่าระบบอื่นๆ<ref name="Laakso 1980 pp. 249–264">{{cite journal | last=Laakso | first=Markku | title=Electoral Justice as a Criterion for Different Systems of Proportional Representation | journal=Scandinavian Political Studies | publisher=Wiley | volume=3 | issue=3 | year=1980 | issn=0080-6757 | doi=10.1111/j.1467-9477.1980.tb00248.x | pages=249–264}}</ref> ในบางประเทศได้มีการใช้ที่นั่งชดเชยเพื่อปรับสมดุลให้กับตัวแปรเหล่านี้เพื่อยังคงความเป็นสัดส่วนไว้ให้ได้มากที่สุด
บรรทัด 25:
ส่วนผู้ที่ไม่เห็นด้วยนั้น ในอีกด้านหนึ่งกล่าวว่าระบบนี้จะเป็นโอกาสให้พรรคหัวรุนแรงสุดโต่งสามารถเข้ามามีที่นั่งในสภาได้ ซึ่งบ้างว่าเป็นสาเหตุของการล่มสลายของ[[สาธารณรัฐไวมาร์]] ในระบบสัดส่วนที่กำหนดคะแนนเสียงขั้นต่ำต่ำมากนั้น พรรคการเมืองขนาดเล็ก ๆ หลายพรรคสามารถกลายเป็น "ผู้เลือกกษัตริย์"<ref>{{cite news|author1=Ana Nicolaci da Costa|author2=Charlotte Greenfield|title=New Zealand's ruling party ahead after poll but kingmaker in no rush to decide|url=https://www.reuters.com/article/us-newzealand-election-tally/new-zealands-ruling-party-ahead-after-poll-but-kingmaker-in-no-rush-to-decide-idUSKCN1BY0LZ|work=[[Reuters]]|date=September 23, 2017}}</ref> (King-makers) ได้ง่ายดายโดยเพียงต่อรองกับพรรคการเมืองขนาดใหญ่แลกกับเสียงสนับสนุนเป็นพรรคร่วมรัฐบาลเป็นข้อต่อรอง ตัวอย่างนี้เกิดขึ้นใน[[อิสราเอล]]<ref name=ideaEsd/>{{rp|59}} แต่ปัญหานี้สามารถจำกัดได้ดั่งที่ใช้ใน[[บุนเดิสทาค]]ของเยอรมนีในปัจจุบัน โดยมีกฎให้คะแนนขั้นต่ำของพรรคการเมืองที่ใช้ในการได้ที่นั่งในสภานั้นมีจำนวนสูง (ซึ่งในทางกลับกันทำให้มีปริมาณคะแนนเสียเปล่ามากขึ้น)
 
อีกข้อวิจารณ์คือระบบสัดส่วนทำให้พรรคการเมืองหลักขนาดใหญ่ในระบบคะแนนนำ/เสียงข้างมาก<ref>{{cite web|last1=Roberts|first1=Iain|title=People in broad church parties should think twice before attacking coalitions|url=http://www.libdemvoice.org/people-in-broad-church-parties-should-think-twice-before-attacking-coalitions-20101.html|publisher=[[Liberal Democrat Voice]]|access-date=29 July 2014|date=29 June 2010|archive-date=2021-03-06|archive-url=https://web.archive.org/web/20210306023233/https://www.libdemvoice.org/people-in-broad-church-parties-should-think-twice-before-attacking-coalitions-20101.html|url-status=dead}}</ref>นั้นแตกออกเนื่องจากระบบสัดส่วนจะได้ประโยชน์แก่พรรคการเมืองขนาดเล็ก โดยเห็นในตัวอย่างของอิสราเอล อิตาลี และบราซิลเป็นต้น<ref name=ideaEsd/>{{rp|59,89}} แต่อย่างไรก็ตามจากผลการวิจัยแสดงให้เห็นว่ามีการเพิ่มจำนวนของพรรคการเมืองในสภาไม่มากนักจากระบบสัดส่วนนี้ (แต่ละพรรคเล็กได้ที่นั่งมากขึ้น)<ref name="FairvoteCanadaWPR">{{cite web|url=https://www.fairvote.ca/a-look-at-the-evidence/|title=A look at the evidence|publisher=Fair Vote Canada|access-date=2 January 2019}}</ref>
 
ใน[[ระบบการลงคะแนน]]แบบ[[การเลือกตั้งระบบสัดส่วนแบบบัญชีรายชื่อเปิด|บัญชีรายชื่อเปิด]] (open list) และ[[การเลือกตั้งแบบถ่ายโอนคะแนนเสียง|แบบถ่ายโอนคะแนนเสียง]]เป็นเพียงแบบย่อยของระบบสัดส่วนที่พรรคการเมืองเป็นสิ่งที่ไม่จำเป็น<ref>{{cite web|last=Amy|first=Douglas J|title=Single Transferable Vote Or Choice Voting|url=http://www.fairvote.org/proportional_representation_voting_systems|publisher=[[FairVote]]|access-date=9 April 2014}}</ref> ทำให้ผู้สมัครอิสระนั้นสามารถได้รับเลือกตั้งโดยง่าย ใน[[ไอร์แลนด์]] มีผู้สมัครอิสระประมาณหกคนได้รับเลือกเข้าสภาโดยเฉลี่ยทุกสมัย<ref>{{cite web|title=Electoral Reform Society's evidence to the Joint Committee on the Draft Bill for House of Lords Reform |url=http://www.electoral-reform.org.uk/reforming-the-house-of-lords |publisher=[[Electoral Reform Society]] |date=21 October 2011 |access-date=10 May 2015}}</ref> ทำให้ในการหาแนวร่วมในสภานั้นจะต้องนำผู้แทนอิสระนี้เข้าไปมีส่วนร่วมด้วยเสมอ ในบางกรณีผู้แทนอิสระเหล่านี้อยู่ในสถานะใกล้ชิดกับพรรคร่วมรัฐบาล โดยรัฐบาลไอริชในการเลือกตั้งปีค.ศ. 2016 นั้นรวมผู้แทนอิสระในรายชื่อของรัฐมนตรีในรัฐบาลเสียงข้างน้อยด้วย
บรรทัด 105:
* [[การเลือกตั้งระบบสัดส่วนแบบบัญชีรายชื่อเปิด|ระบบบัญชีเปิด]] ซึ่งผู้ลงคะแนนสามารถเลือกลงคะแนนได้ตั้งแต่หนึ่งคน หรือสองคน หรือแม้แต่ลงลำดับความชอบในรายชื่อที่ปรากฏในบัตรลงคะแนนได้ โดยขึ้นอยู่กับกฎหมายเลือกตั้งในประเทศนั้นๆ ซึ่งการลงคะแนนจะเป็นตัวกำหนดลำดับในบัญชีรายชื่อก่อนหลังโดยเรียงจากคะแนนของผู้สมัครแต่ละรายในบัญชีรายชื่อ
* [[การเลือกตั้งระบบสัดส่วนแบบบัญชีรายชื่อท้องถิ่น|ระบบบัญชีท้องถิ่น]] เป็นระบบที่พรรคการเมืองแบ่งบัญชีรายชื่อแตกต่างกันตามแต่ละเขตเลือกตั้ง โดยวิธีนี้ผู้ลงคะแนนจะสามารถเลือกตัวผู้แทนที่ชอบได้คล้ายกับใน[[ระบบแบ่งเขตคะแนนสูงสุด]]
* ระบบบัญชีรายชื่อสองชั้น เช่นใน[[เดนมาร์ก]] [[สวีเดน]] และ[[นอร์เวย์]] ในเดนมาร์กนั้นมีการแบ่งเขตเลือกตั้งทั้งหมด 10 เขต โดยแต่ละเขตมีผู้แทนมากกว่าหนึ่งคน โดยแบ่งเขตเลือกตั้งในสามภูมิภาคเพื่อเลือกผู้แทน 135 คน นอกจากนี้ยังมีผู้แทนอีก 40 คนมาจากการชดเชยที่นั่ง ผู้ลงคะแนนจะมีเพียงคะแนนเดียวซึ่งจะใช้เลือกตัวผู้สมัครในเขตเลือกตั้ง หรือใช้เลือกบัญชีรายชื่อของพรรคการเมืองในเขตเลือกตั้งนั้น โดยในการนับคะแนนผู้ชนะในเขตเลือกตั้ง ผู้สมัครแต่ละรายจะได้รับการจัดสรรที่นั่งจากคะแนนเสียงรวมของพรรครวมกับคะแนนเสียงของผู้สมัครแต่ละคน โดยจะมีที่นั่งชดเชยให้ในแต่ละเขตเลือกตั้งเพื่อปรับสัดส่วนให้พอดีระหว่างภูมิภาคกับคะแนนเสียงรวมในระดับประเทศ ในการเลือกตั้งทั่วไปในเดนมาร์ก ค.ศ. 2007 นั้นขนาดเลือกตั้งซึ่งเมื่อรวมกับที่นั่งชดเชยแล้วมีขนาดระหว่าง 14 ถึง 28 คนต่อเขต โดยพื้นฐานการลงคะแนนของเดนมาร์กไม่ได้เปลี่ยนแปลงเลยตั้งแต่สมัยเริ่มใช้ในปีค.ศ. 1920<ref name="denmark">{{cite web|title=The Parliamentary Electoral System in Denmark |url=http://www.thedanishparliament.dk/Publications/The%20Parliamentary%20Electoral%20System%20in%20DK.aspx|publisher=Ministry of the Interior and Health|location=Copenhagen|access-date=1 Sep 2014|date=2011|archive-date=2017-11-23|archive-url=https://web.archive.org/web/20171123004726/http://www.thedanishparliament.dk/Publications/The%20Parliamentary%20Electoral%20System%20in%20DK.aspx|url-status=dead}}</ref><ref>{{cite web|title=The main features of the Norwegian electoral system |url=http://www.regjeringen.no/en/dep/kmd/information-campaigns/election_portal/the-electoral-system/the-norwegian-electoral-system.html?id=456636|publisher=Ministry of Local Government and Modernisation|location=Oslo|access-date=1 Sep 2014|date=2017-07-06}}</ref><ref>{{cite web|title=The Swedish electoral system|url=http://www.val.se/sprak/engelska/general_information/index.html|publisher=Election Authority|location=Stockholm|access-date=1 Sep 2014|date=2011|archive-url=https://web.archive.org/web/20140818233057/http://www.val.se/sprak/engelska/general_information/index.html|archive-date=18 August 2014|url-status=dead}}</ref>
 
===แบบถ่ายโอนคะแนนเสียง===
บรรทัด 458:
==แหล่งข้อมูลอื่น==
* [http://www.mtholyoke.edu/acad/polit/damy/prlib.htm Proportional Representation Library]
* [http://works.bepress.com/josep_colomer/3/ Handbook of Electoral System Choice] {{Webarchive|url=https://web.archive.org/web/20100428065929/http://works.bepress.com/josep_colomer/3/ |date=2010-04-28 }}
* [http://www.mcdougall.org.uk/VM/ISSUE10/P6.HTM Quantifying Representativity] Article by Philip Kestelman
* [http://www.deborda.org/ The De Borda Institute] A Northern Ireland-based organisation promoting inclusive voting procedures