ผลต่างระหว่างรุ่นของ "กั้ง"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
InternetArchiveBot (คุย | ส่วนร่วม)
Rescuing 1 sources and tagging 0 as dead.) #IABot (v2.0.8
InternetArchiveBot (คุย | ส่วนร่วม)
Rescuing 1 sources and tagging 1 as dead.) #IABot (v2.0.8
บรรทัด 42:
กั้ง โดยทั่วไปมีรูปร่างคล้าย[[กุ้ง]]ผสมกับ[[ตั๊กแตนตำข้าว]] ลำตัวยาวคล้าย[[ตะขาบ]] หายใจด้วยเหงือกเช่นเดียวกับกุ้ง ลำตัวมีรูปร่างแบนหรือกลม แบ่งเป็นปล้อง ๆ เปลือกที่หุ้มท่อนหัวและอกคลุมมาถึงอกปล้องที่ 5 แต่ไม่ถึงปล้องที่ 8 กรีมีลักษณะแบนราบ มีขาทั้งหมด 3 คู่ <ref name=กา>{{cite web|url=http://rirs3.royin.go.th/new-search/word-1-search.asp|work=[[พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542]]|title=กั้ง|access-date=2011-08-24|archive-date=2011-09-26|archive-url=https://web.archive.org/web/20110926151725/http://rirs3.royin.go.th/new-search/word-1-search.asp|url-status=dead}}</ref> เป็นสัตว์ที่ถือกำเนิดขึ้นมาบนโลกตั้งแต่ 400 ล้านปีก่อน <ref>"''Circular polarization vision in a stomatopod crustacean.''". ''Current Biology''. '''18'''.</ref>
 
มักอาศัยอยู่ในทะเลโคลน หรือ บริเวณ[[ปากแม่น้ำ]] หรือตาม[[แนวปะการัง]] และพบได้ถึงระดับความลึกกว่า 1,500 เมตร กั้งเป็นสัตว์ที่ถือกำเนิดในโลกนี้มาก่อนกุ้ง มีจุดเด่น คือ มีดวง[[ตา]]ขนาดใหญ่ สามารถใช้[[สแกน]]มองภาพได้ดี โดยสามารถมองเห็นภาพชัดลึกได้ดี ตาแต่ละข้างของกั้งสามารถมองเห็นได้ 3 ตา และตาแต่ละดวงมองเห็นภาพได้ 3 ภาพ และสามารถกะระยะได้ดีมากเพื่อใช้ในการล่าเหยื่อ กั้งมีแก้วตาหลายพันชิ้น และสามารถมองเห็นสีได้ในระดับที่ซับซ้อน โดยถือว่าเป็นสัตว์จำพวกหนึ่งที่มีระบบการมองเห็นภาพดีที่สุดในอาณาจักรสัตว์โลก<ref>{{cite web|url=http://tv.ohozaa.com/hourly-rerun/tpbs/2014-09-15/23/|title=สุดยอดสารคดีโลก : ชีวิตมหัศจรรย์ ตอน จักรวาลกว้างใหญ่|date=15 September 2014|accessdate=16 September 2014|publisher=ไทยพีบีเอส}}{{ลิงก์เสีย|date=กันยายน 2021 |bot=InternetArchiveBot |fix-attempted=yes }}</ref> ไม่มีก้ามหนีบ แต่มีระยางค์ส่วนอกคู่ที่ 2 มีลักษณะเป็นก้ามสับขนาดใหญ่พับได้คล้าย[[มีดโกน]] และมีซี่ฟันแหลมคมเรียงกันเป็นแถวคล้าย[[หวี]] ใช้สำหรับฆ่าเหยื่อหรือป้องกันตัว ซึ่งสามารถใช้สับน้ำให้เกิดเป็นแรงขนาดมากได้ จนอาจถึงทำร้ายสัตว์ที่มีขนาดใหญ่กว่า เช่น [[มนุษย์]]ให้ได้รับบาดเจ็บได้<ref>[http://past.talaythai.com/Photo/life0017.php กั้งตั๊กแตนเจ็ดสี โดย ผศ.ดร.[[ธรณ์ ธำรงนาวาสวัสดิ์]]]</ref>
 
กั้งถูกค้นพบแล้วกว่า 450 ชนิด ในประเทศไทยมีรายงานพบแล้วอย่างน้อย 61 ชนิด <ref>{{cite web|url=http://www.ku.ac.th/e-magazine/jan50/agri/lobster.htm|title=กั้งตั๊กแตน|date=|accessdate=16 September 2014|publisher=มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์|archive-date=2016-03-04|archive-url=https://web.archive.org/web/20160304123835/http://www.ku.ac.th/e-magazine/jan50/agri/lobster.htm|url-status=dead}}</ref>
 
กั้งนิยมนำมา[[กิน|รับประทาน]]เป็น[[อาหาร]]เช่นเดียวกับกุ้ง โดยปกติแล้วจะมีราคาสูงกว่ากุ้งธรรมดาหรือ[[ปู]]<ref>[http://www.oknation.net/blog/print.php?id=120768 ธนาคารกั้ง...แห่งแรกของไทย (ตอนที่ 1...จุดกำเนิดความหวัง) จาก[[โอเคเนชั่น]]]</ref> ในบางชนิดนิยมนำมาแช่กับ[[น้ำปลา]]รับประทานกับ[[ข้าวต้ม]]<ref>[http://www.thaismeplus.com/article-547-ชิม-กั้งแช่น้ำปลา-สูตรเด็ด-หอมอร่อยทอดมันไม่ใส่เครื่องแกง.html ม.ล.[[หมึกแดง|ศิริเฉลิม สวัสดิวัฒน์]], ชิม "กั้งแช่น้ำปลา" สูตรเด็ด หอมอร่อยทอดมันไม่ใส่เครื่องแกง จาก[[เดลินิวส์]]]</ref>
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/กั้ง"