ผลต่างระหว่างรุ่นของ "กระท้อน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
InternetArchiveBot (คุย | ส่วนร่วม)
Rescuing 1 sources and tagging 0 as dead.) #IABot (v2.0.8
InternetArchiveBot (คุย | ส่วนร่วม)
Rescuing 1 sources and tagging 1 as dead.) #IABot (v2.0.8
บรรทัด 43:
 
== สายพันธุ์ ==
พันธุ์ที่ได้รับความนิยมสูงสูดเป็นพันธุ์กระท้อนห่อที่มีรสหวาน ได้แก่ พันธุ์อีล่า ปุยฝ้าย นิ่มนวล อินทรชิต ทับทิม ขันทอง เทพรส อีแดง ส่วนพันธุ์พื้นเมืองจะมีผลดก ผลมีขนาดเล็ก รสเปรี้ยว จึงนิยมนำมาทำเป็น กระท้อนดอง [[กระท้อนทรงเครื่อง]]<ref>http://www.tistr.or.th/t/publication/page_area_show_bc.asp?i1=65&i2=16{{ลิงก์เสีย|date=กันยายน 2021 |bot=InternetArchiveBot |fix-attempted=yes }}</ref>
 
=== พันธุ์ปุยฝ้าย ===
บรรทัด 60:
กระท้อนใช้ทำอาหารคาวหวานได้หลายชนิด ทั้งอาหารคาว เช่น แกงฮังเล แกงคั่ว ผัด ตำกระท้อน และอาหารหวาน เช่น กระท้อนทรงเครื่อง กระท้อนลอยแก้ว กระท้อนดอง แยม กระท้อนกวนและเยลลี่ หรือกินเป็นผลไม้สด กระท้อนเป็นผลไม้ที่มีสารต้านอนุมูลอิสระสูง<ref name="นิดา"/>ในบิโกล ประเทศฟิลิปปินส์ นำกระท้อนไปแกงกับกะทิ
 
ทางด้านสมุนไพร กระท้อนมีสรรพคุณทางยาหลายประการ ใบสด ใช้ขับเหงื่อ ต้มอาบแก้ไข้ เปลือกต้นต้มน้ำดื่มแก้[[ท้องเสีย]] รักษา[[โรคผิวหนัง]] [[กลากเกลื้อน]] ราก เป็นยาขับลม แก้ท้องเสีย [[บิด]] เป็นยาธาตุ<ref>{{Cite web |url=http://www.chiangmainews.co.th/viewnews.php?id=19060&lyo=1 |title=สำเนาที่เก็บถาวร |access-date=2007-11-11 |archive-date=2007-10-19 |archive-url=https://web.archive.org/web/20071019145321/http://chiangmainews.co.th/viewnews.php?id=19060&lyo=1 |url-status=dead }}</ref> หลายส่วนของกระท้อนมีฤทธิ์แก้อักเสบ<ref>Rasadah, M. A. et al. (2004). Anti-inflammatory agents from ''Sandoricum koetjape'' Merr. ''Phytomedicine''. 11:2 261-3.</ref> และสารสกัดจากกิ่งกระท้อนบางชนิดมีผลยับยั้งมะเร็งในหลอดทดลอง <ref>Norito Kaneda, et al. [http://www.ncbi.nlm.nih.gov/pubmed/1517737 "Plant Anticancer Agents, L. Cytotoxic Triterpenes from Sandoricum koetjape Stems".] [[Journal of Natural Products]] 55 (May 1992) : 654–659.</ref> สารสกัดจากเมล็ดกระท้อนมีฤทธิ์เป็นยาฆ่าแมลง<ref>{{Cite web |url=http://grande.nal.usda.gov/ibids/index.php?mode2=detail&origin=ibids_references&therow=288853 |title=Limonoid antifeedants from seed of Sandoricum koetjape<!-- Bot generated title --> |access-date=2012-01-05 |archive-date=2008-08-07 |archive-url=https://web.archive.org/web/20080807031224/http://grande.nal.usda.gov/ibids/index.php?mode2=detail |url-status=dead }}</ref>
 
== อ้างอิง ==