ผลต่างระหว่างรุ่นของ "คณะกรรมาธิการความปลอดภัยสาธารณะ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Setawut (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Setawut (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{Infobox legislature
[[ไฟล์:Louis Boilly Robespierre.jpg|255px|thumb|[[มักซีมีเลียง รอแบ็สปีแยร์]] กลายเป็นผู้มีอำนาจที่สุดในฝรั่งเศสในระหว่างที่ดำรงตำแหน่งกรรมาธิการความปลอดภัยส่วนรวม ]]
| name = คณะกรรมาธิการความปลอดภัยส่วนรวม
| native_name = Comité de salut public
| legislature =
| coa_pic = CSPemblem.png
| coa_res = 200px
| coa_caption = ตราประทับ
| house_type = รัฐบาลเฉพาะกาล
| houses =
| members =
| meeting_place =
| established = 25 มีนาคม 1793
| disbanded = 27 ตุลาคม 1795
| preceded_by = [[คณะกรรมาธิการความมั่นคงสามัญ]]
| succeeded_by = [[คณะดีแร็กตัวร์ฝรั่งเศส]]
| footnotes =
}}
 
ในช่วง[[การปฏิวัติฝรั่งเศส]] ''' คณะกรรมาธิการความปลอดภัยส่วนรวม''' ({{lang-fr|Comité de salut public}}) เป็นคณะผู้ตรวจสอบซึ่งกรรมาธิการที่ได้รับจัดตั้งโดย[[สภากงว็องซียงแห่งชาติ]]จัดตั้งในเดือนเมษายน ค.ศ. 1793 และมีการปรับเปลี่ยนโครงสร้างสมาชิกอย่างมีนัยยะในเดือนกรกฎาคม ค.ศ. 1793 เป็นการปกครองอำนาจบริหารโดยพฤตินัยในประเทศฝรั่งเศสระหว่าง[[สมัยแห่งความน่าสะพรึงกลัว]] (ค.ศ. 1793–1794) ซึ่งเป็นขั้นหนึ่งของ[[การปฏิวัติฝรั่งเศส]]
 
คณะกรรมาธิการความปลอดภัยส่วนรวมถูกตั้งจัดตั้งขึ้นมาแทนในสามเดือนหลังจากการประหารพระเจ้าหลุยส์ที่ 16 คณะกรรมาธิการการป้องกันประเทศ (ก่อตั้งเมื่อมกราคม 1793) และนี้มีหน้าที่สอดส่องดูแลและรับผิดชอบในการปกป้องธำรงไว้ซึ่งระบอบสาธารณรัฐจากการภัยคุกคามโดยจากศัตรูต่างประเทศและการก่อกบฎภายในศัตรูในประเทศที่ คณะกรรมการฯ คณะกรรมาธิการความปลอดภัยส่วนรวมเมื่อแรกตั้งประกอบด้วยสมาชิกเก้าคน และต่อมามีสิบสองคน นี้ได้รับอำนาจอย่างกว้างขวาง สามารถควบคุมดูแลกิจการทหารมีอำนาจบังคับบัญชากองทัพ, แต่งตั้งตุลาการ[[ศาลอาญาปฏิวัติ]] และนิติบัญญัติ ตลอดจนบังคับใช้คำสั่งกฎหมายต่างๆที่ออกมาตรการยามสงคราม การที่คณะกรรมาธิการฯมีอำนาจกว้างขวางเช่นนี้ ทำให้เปรียบเสมือนเป็นฝ่ายบริหารที่แท้จริงของประเทศ โดยสภา
 
ในช่วงแรก คณะนี้ประกอบด้วยกรรมาธิการเก้าคน และไม่ได้อยู่ภายใต้การครอบงำโดยบุคคลหนึ่งเป็นพิเศษ จนกระทั่งปลายเดือนกรกฎาคม สภาแต่งตั้งให้[[มักซีมีเลียง รอแบ็สปีแยร์]] เป็นกรรมาธิการแทนที่กรรมาธิการคนหนึ่งที่ลาออก เมื่อได้เข้าดำรงตำแหน่ง รอแบ็สปีแยร์ก็เพิ่มจำนวนกรรมาธิการเป็นสิบสองคน โดยที่เก้าคนในจำนวนนี้เป็นสมาชิก[[ลามงตาญ|กลุ่มลามงตาญ]] ซึ่งเป็นกลุ่มการเมืองหัวรุนแรงที่ต้องการปฏิวัติแบบถอนรากถอนโคน
ในเดือนกรกฎาคม ค.ศ. 1793 สภากงว็องซียงได้อนุมัติให้บรรดาผู้นำ[[ฌากอแบ็ง]] (Jacobins) คนสำคัญ อาทิ [[มักซีมีเลียง รอแบ็สปีแยร์]] และ[[หลุยส์ อ็องตวน เดอ แซ็ง-ฌุสต์]] เป็นต้น เป็นเข้าเป็นกรรมาธิการ พวกฌากอแบ็งภายใต้การนำของรอแบ็สปีแยร์ได้ครองอำนาจในคณะกรรมาธิการอย่างเบ็ดเสร็จระหว่างเดือนสิงหาคม ค.ศ. 1793 ถึงกรกฎาคม ค.ศ. 1794 โดยที่ในเดือนธันวาคม ค.ศ. 1793 สภากงว็องซียงมอบอำนาจบริหารให้แก่คณะกรรมการฯ อย่างเป็นทางการ
 
10 กันยายน 1793 สภาผ่านกฎหมายว่าด้วยผู้ต้องสงสัย ({{lang|fr|Loi des suspects}}) ซึ่งให้อำนาจจับกุมผู้ต้องสงสัยว่าเป็นศัตรูของสาธารณรัฐ ถือเป็นจุดเริ่มต้นของ[[ความน่าสะพรึงกลัว (การปฏิวัติฝรั่งเศส)|สมัยแห่งความน่าสะพรึงกลัว]] ต่อมาในวันที่ 10 ตุลาคมปีเดียวกัน สภาผ่านมติรับรองให้คณะกรรมาธิการฯเป็น "รัฐบาลปฏิวัติ" ซึ่งมีอำนาจสูงสุดเฉพาะกาลจนกว่าสถานการณ์จะสงบ รัฐธรรมนูญถูกระงับใช้ รอแบ็สปีแยร์กลายเป็นผู้มีอำนาจที่สุดในฝรั่งเศสโดยพฤตินัย คณะกรรมาธิการความปลอดภัยส่วนรวมภายใต้การนำของรอแบ็สปีแยร์ ทำการปกครองประเทศฝรั่งเศสด้วยความหวาดกลัว มีการจัดตั้งกรมตำรวจสูงสุดในเดือนมีนาคม 1794 ซึ่งขึ้นตรงต่อรอแบ็สปีแยร์และคนใกล้ชิดเขา
การประหารชีวิตรอแบ็สปีแยร์ในเดือนกรกฎาคม ค.ศ. 1794 เป็นสัญลักษณ์ของช่วงปฏิกิริยาต่อคณะกรรมาธิการความปลอดภัยส่วนรวม ซึ่งเรียก [[ปฏิกิริยาเดือนแตร์มีดอร์]] (Thermidorian Reaction) อิทธิพลของคณะกรรมาธิการฯ เสื่อมและถูกยุบใน ค.ศ. 1795
 
นักหนังสือพิมพ์อย่าง[[ฌัก เอแบร์]], [[กามีย์ เดมูแล็ง]] หรือนักการเมืองคนสำคัญอย่าง[[ฌอร์ฌ ด็องตง]] ซึ่งวิจารณ์การทำงานของคณะกรรมาธิการฯ ถูกจับกุมและประหารชีวิต ในเวลาปีเดียว เกิดการจับกุมผู้คนนับแสนรายตั้งแต่ความผิดเล็กน้อยจนถึงความผิดอุกฉกรรจ์ ในจำนวนนี้ ผู้คนนับหมื่นรายด้วยเครื่องกิโยตีน
 
เมื่อรอแบ็สปีแยร์สมาชิกสภาไม่อาจทนความเผด็จการบ้าเลือดของรอแบ็สปีแยร์ได้อีกต่อไป พวกเขาลงมติก็ถอดถอนรอแบ็สปีแยร์และพวกโดยฉับพลันในวันที่ 27 กรกฎาคม ค.ศ. 1794 รอแบ็สปีแยร์พยายามฆ่าตัวตายแต่ไม่สำเร็จ และถูกนำตัวประหารชีวิตในวันถัดมา<ref>{{cite web|url=http://www.loyno.edu/~history/journal/1983-4/mcletchie.htm|title=Maximilien Robespierre, Master of the Terror|website=loyno.edu|access-date=20 September 2017}}</ref> ถือเป็นจุดสิ้นสุดของความน่าสะพรึงกลัวในประเทศฝรั่งเศส กลุ่มลามงตาญถูกกวาดล้าง หลังจากนั้น สภาก็จัดตั้งคณะกรรมาธิการชุดใหม่ ซึ่งดำรงอยู่เพียงปีเศษก็ถูกยุบและจัดตั้งเป็น[[คณะดีแร็กตัวร์ฝรั่งเศส]]
 
==อ้างอิง==
{{รายการอ้างอิง}}
 
{{การปฏิวัติฝรั่งเศส}}