ผลต่างระหว่างรุ่นของ "กลยุทธ์ผลาญภพ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Setawut (คุย | ส่วนร่วม)
Setawut ย้ายหน้า พสุธาจมเพลิง ไปยัง กลยุทธ์ผลาญภพ
Setawut (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
[[ไฟล์:Bundesarchiv Bild 101I-137-1032-14A, Russland, brennendes Dorf, deutsche Kavallerie.jpg|thumb|300px|กองทัพโซเวียตใช้กลยุทธ์พสุธาจมเพลิงผลาญภพเพื่อต่อต้านการรุกรานของเยอรมนีใน[[สงครามโลกครั้งที่สอง]] ค.ศ. 1941]]
[[ไฟล์:USAF_F-16A_F-15C_F-15E_Desert_Storm_edit2.jpg|thumb|300px|ระหว่าง[[สงครามอ่าวเปอร์เซีย]] กองเรือบินสหรัฐบินเหนือทุ่งบ่อน้ำมันในคูเวตเพื่อจุดไฟเผาบ่อน้ำมันระหว่างทางที่ทหารอิรักที่ถอยทัพใน ค.ศ. 1991]]
 
'''พสุธาจมเพลิงกลยุทธ์ผลาญภพ''' ({{lang|en|Scorched earth}}) เป็น[[กลยุทธ์]]ทางทหารเพื่อทำลายทุกสิ่งที่อาจเป็นประโยชน์แก่ข้าศึกระหว่างที่ข้าศึกกำลังรุกหรือถอยทัพจากบริเวณใดบริเวณหนึ่งโดยเฉพาะ<ref>Encyclopedia.farlex.com: Definition of Scorched earth[http://encyclopedia.farlex.com/Scorched+earth+policy]</ref> ความหมายแต่เดิมแล้วหมายถึงการเผาพืชพันธุ์ทางการเกษตรเพื่อตัดแหล่งผลิตอาหารซึ่งคล้ายกับวิธี "[[Chevauchée]]"<ref>[http://europeanhistory.about.com/od/referenceencyclopedia/g/flchevauchee.htm About.com: European history, Chevauchée]</ref> ที่ใช้กันใน[[สมัยกลาง]] แต่ในสมัยปัจจุบันไม่จำกัดแต่เพียงการทำลายแหล่งผลิตอาหารเท่านั้น แต่รวมทั้งการทำลายที่หลบภัย การคมนาคม การสื่อสารและแหล่งอุตสาหกรรมด้วย วิธีนี้อาจจะทำโดยกองทัพที่อยู่ในดินแดนของข้าศึกหรือจากดินแดนของตนเอง
 
Scorched earth กลยุทธ์ผลาญภพมักใช้ถูกสับสนกับ “ถางแล้วเผา” (slash and burn) ซึ่งไม่ใช่กลยุทธ์ทางทหารแต่เป็นวิธีทางการกลวิธีเกษตรกรรม เป็นคำที่มีความหมายคาบเกี่ยว แต่ไม่ใช่วิธีเดียวกันกับการทำลายทรัพยากรของข้าศึก ซึ่งเป็นการทำลายอย่างเจาะจงด้วยเหตุผลทางยุทธศาสตร์การเมืองที่ไม่ใช่การทำลายด้วยเหตุผลทางยุทธศาสตร์และ[[ปฏิบัติการทางทหาร]]
 
== อ้างอิง ==