ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อำเภอปง"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Billner2009 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
PepeBonus (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 18:
'''อำเภอปง''' ({{lang-nod|[[ไฟล์:Lanna-Pong.png|15px]]}}) เป็น[[อำเภอ]]หนึ่งใน[[จังหวัดพะเยา]]อำเภอปงเป็นอำเภอที่มีเขตพื้นที่มากที่สุดในจังหวัดพะเยา
 
==ประวัติอำเภอปง==
ปง เป็นอำเภอที่เก่าแก่แห่งหนึ่ง เป็นอำเภอขึ้นชื่อในเรื่องการทำไม้และยาสูบ มีที่มา 2 ทัศนะ คือ มาจากตำนานพระธาตุดอยหยวกที่พญานาคราชขออดโทษ หรือ ขมา ภาษาพื้นเมืองว่า ป๋งโตษ ต่อองค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าที่เสด็จมาในคราวครั้งนั้นและต่อมามีการสร้างพระธาตุดอยหยวก
อีกทัศนะหนึ่งมาจากตำนานปรัมปราเล่าว่า ปู่ฟ้าโง้ม ซึ่งโดยปกติจะมีรูปร่างที่ใหญ่โตมโหฬารเวลาเดินไปไหนมาไหนต้องก้มหัวลงเพื่อไม่ให้ถูกฟ้า (โง้ม คืออาการที่คนก้มหัวหลบ) ได้หนึ้งข้าว คือหุงข้าวเหนียว แล้วปง หรือปลดลง ณ บ้านแห่งหนึ่ง ต่อมาบริเวณดังกล่าวจึงได้ชื่อว่าเมืองปง
 
ปง เป็นอำเภอที่เก่าแก่แห่งหนึ่ง เป็นอำเภอขึ้นชื่อในเรื่องการทำไม้และยาสูบ มีที่มา 2 ทัศนะ คือ มาจากตำนานพระธาตุดอยหยวกที่พญานาคราชขออดโทษ หรือ ขมา ภาษาพื้นเมืองว่า ป๋งโตษ ต่อองค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าที่เสด็จมาในคราวครั้งนั้นและต่อมามีการสร้างพระธาตุดอยหยวก อีกทัศนะหนึ่งมาจากตำนานปรัมปราเล่าว่า ปู่ฟ้าโง้ม ซึ่งโดยปกติจะมีรูปร่างที่ใหญ่โตมโหฬารเวลาเดินไปไหนมาไหนต้องก้มหัวลงเพื่อไม่ให้ถูกฟ้า (โง้ม คืออาการที่คนก้มหัวหลบ) ได้หนึ้งข้าว คือหุงข้าวเหนียว แล้วปง หรือปลดลง ณ บ้านแห่งหนึ่ง ต่อมาบริเวณดังกล่าวจึงได้ชื่อว่าเมืองปง
[[พงศวดารเมืองน่าน]] ปรากฏชื่อเมืองปงครั้งเมื่อ[[พระเจ้าติโลกราช]] กษัตริย์[[อาณาจักรล้านนา]] ยกทัพมาตี[[เมืองน่าน]] [[พ.ศ. 1993]] ปรากฏความหนึ่งว่า เจ้าแพงเสี้ยงกรรมไปในปีก่าเป้า จุลสกราชได้ 797 ตัวหั้นแล ได้ 15 ชั่ววงศาก่อนแล เจ้าอินทะแก่นท้าวก็ได้เสวยเมืองแทนก็ในปีก่าเป้านั้นหั้นแล ท่านอยู่เสวยเมืองขั้นถ้วน 2 นี้ได้ 16 ปีท่านมีลูกชาย 1 หญิง 1 แล เมื่อนั้นท่านแต่งผู้ใช้เอาเกลือบ่อมางไปเป็นแขกถวายพระยาติโลกเมืองเชียงใหม่หั้นแล ลูนแต่นั้นหน้อยหนึ่ง พระยาติโลกมั่กใครได้เมืองน่านไปส่วยค้ำเมืองเชียงใหม่ ก็จึงขับเอาจตุรงคเสนา 4 จำพวกรี้พลศึกทั้งหลายมวลพร้อมแล้วท่านก็เสด็จออกจากเมืองพิงค์เชียงใหม่ ท้าวก็ข่มไพร่พลไปทางเมืองลอ เอาชาวลอเป็นหัวหน้ามา [[เมืองปง]] [[เมืองควน]] ลงมาทางตีน[[ดอยวาว]]รอดเมืองน่านแล้วก็ตั้งทัพอยู่สวนตาลหลวงหั้นแล้วก็ตั้งอะม็อกสีนาดยิงเข้าทางประตูอู่ญานโห่ร้องคุมเวียงหั้นแล เมื่อพระยาแก่นท้าวบ่อาจจักต่อรี้พลท้าวตนใหญ่ได้จึงเอาลูกและเมียหนีไปเมืองใต้ไปพึงพระยาชะเลียงสหายตนหั้นแลฯ
 
[[พงศวดารเมืองน่าน]] ปรากฏชื่อเมืองปงครั้งเมื่อ[[พระเจ้าติโลกราช]] กษัตริย์[[อาณาจักรล้านนา]] ยกทัพมาตี[[เมืองน่าน]] [[พ.ศ. 1993]] ปรากฏความหนึ่งว่า เจ้าแพงเสี้ยงกรรมไปในปีก่าเป้า จุลสกราชได้ 797 ตัวหั้นแล ได้ 15 ชั่ววงศาก่อนแล เจ้าอินทะแก่นท้าวก็ได้เสวยเมืองแทนก็ในปีก่าเป้านั้นหั้นแล ท่านอยู่เสวยเมืองขั้นถ้วน 2 นี้ได้ 16 ปีท่านมีลูกชาย 1 หญิง 1 แล เมื่อนั้นท่านแต่งผู้ใช้เอาเกลือบ่อมางไปเป็นแขกถวายพระยาติโลกเมืองเชียงใหม่หั้นแล ลูนแต่นั้นหน้อยหนึ่ง พระยาติโลกมั่กใครได้เมืองน่านไปส่วยค้ำเมืองเชียงใหม่ ก็จึงขับเอาจตุรงคเสนา 4 จำพวกรี้พลศึกทั้งหลายมวลพร้อมแล้วท่านก็เสด็จออกจากเมืองพิงค์เชียงใหม่ ท้าวก็ข่มไพร่พลไปทางเมืองลอ เอาชาวลอเป็นหัวหน้ามา [[เมืองปง]] [[เมืองควน]] ลงมาทางตีน[[ดอยวาว]]รอดเมืองน่านแล้วก็ตั้งทัพอยู่สวนตาลหลวงหั้นแล้วก็ตั้งอะม็อกสีนาดยิงเข้าทางประตูอู่ญานโห่ร้องคุมเวียงหั้นแล เมื่อพระยาแก่นท้าวบ่อาจจักต่อรี้พลท้าวตนใหญ่ได้จึงเอาลูกและเมียหนีไปเมืองใต้ไปพึงพระยาชะเลียงสหายตนหั้นแลฯ
'''พ.ศ. 1871''' ได้ปรับปรุงเขตการปกครองระหว่างเมืองเชียงแสน-พะเยา โดยมีพันนาเชียงแสนทั้งหมดมี 65 พันนา ซึ่งมีพันนา เมืองปง เมืองงิม เมืองควน เมืองมวน เมืองสระเอียบ รวมอยู่ด้วย
 
พ.ศ. 1871 ได้ปรับปรุงเขตการปกครองระหว่างเมืองเชียงแสน-พะเยา โดยมีพันนาเชียงแสนทั้งหมดมี 65 พันนา ซึ่งมีพันนา เมืองปง เมืองงิม เมืองควน เมืองมวน เมืองสระเอียบ รวมอยู่ด้วย '''พ.ศ. 2437''' ในรัชกาลที่ 4 และตอนต้นรัชกาลที่ 5 ไทยเสียดินแดนให้ฝรั่งเศส และอังกฤษ เพื่อรักษาเอกราชไทยจึงพยายามปรับปรุงการปกครองประเทศเสียใหม่ โดยรวมอำนาจบริหารทั้งหมดเข้าสู่ศูนย์กลาง ได้โอนงานปกครองส่วนภูมิภาคให้กระทรวงมหาดไทยรับผิดชอบทั้งหมดแต่ฝ่ายเดียว พ.ศ. 2440 ได้มีการประกาศใช้ พ.ร.บ. ลักษณะปกครองท้องที่ ร.ศ.116 ทั่วราชอาณาจักร กำหนดจัดการปกครองแบ่งเป็นหมู่บ้านซึ่งเป็นหน่วยปกครองเล็กที่สุด ถัดขึ้นไปเป็นตำบลและอำเภอ พ.ศ. 2442 เมืองปงตั้งเป็นแขวงขุนยมขึ้นกับเมืองน่าน พระยาศรีสหเทพ ( ราชปลัดทูลฉลองกระทรวงมหาดไทย ) ได้ขึ้นมาตรวจจัดราชการในมณฑลตะวันออกเฉียงเหนือ พระยาสุนทรนุรักษ์ (ข้าหลวงประจำเมืองน่าน) เจ้าสุริยะพงษ์ผริตเดชฯ (เจ้านครเมืองน่าน) เค้าสนามหลวงเมืองน่าน ได้ประชุมตกลงกันแบ่งเขตการปกครองเมืองน่านออกเป็น 8 แขวง
 
'''พ.ศ. 2440''' ได้มีการประกาศใช้ พ.ร.บ.ลักษณะปกครองท้องที่ ร.ศ.116 ทั่วราชอาณาจักร กำหนดจัดการปกครองแบ่งเป็นหมู่บ้านซึ่งเป็นหน่วยปกครองเล็กที่สุด ถัดขึ้นไปเป็นตำบลและอำเภอ
 
'''พ.ศ. 2442''' เมืองปงตั้งเป็นแขวงขุนยมขึ้นกับเมืองน่าน พระยาศรีสหเทพ ( ราชปลัดทูลฉลองกระทรวงมหาดไทย ) ได้ขึ้นมาตรวจจัดราชการในมณฑลตะวันออกเฉียงเหนือ พระยาสุนทรนุรักษ์ ( ข้าหลวงประจำเมืองน่าน ) เจ้าสุริยะพงษ์ผริตเดชฯ ( เจ้านครเมืองน่าน ) เค้าสนามหลวงเมืองน่าน ได้ประชุมตกลงกันแบ่งเขตการปกครองเมืองน่านออกเป็น 8 แขวง
# แขวงนครน่าน
# แขวงน้ำแหง
เส้น 39 ⟶ 33:
# แขวงน้ำอิง
# [[แขวงขุนยม]] ( มีเมืองเชียงม่วน เมืองสะเอียบ เมืองสระ เมืองสวด เมืองปง เมืองงิม เมืองออย เมืองควน ที่ว่าการแขวงตั้งอยู่ที่เมืองปง )
 
เนื่องจากนครเมืองน่านมีพื้นที่กว้างขวาง ภูมิประเทศส่วนใหญ่เป็นป่าเขาระยะทางระหว่างเมืองต่างๆอยู่ห่างไกล แม้จะเพิ่มเขตปกครองเป็น 8 เขตแล้ว แต่ก็ยังไม่เพียงพอที่จะรักษาความสงบเรียบร้อยได้ทั่วถึง จึงได้มีการรวมหัวเมืองต่างๆเข้าด้วยกันตั้งเป็นบริเวณ โดยเริ่มตั้งบริเวณน่านตะวันออกก่อน แล้วตามมาด้วยบริเวณน่านเหนือ และบริเวณน่านใต้ บริเวณน่านเหนือประกอบด้วย
# แขวงน้ำอิง
# แขวงน้ำของ
# แขวงขุนยม (เมืองป๋งจึงขึ้นอยู่กับบริเวณน่านเหนือ)
 
'''พ.ศ. 2443''' พระยาศรีสหเทพ ราชปลัดทูลฉลองมหาดไทยขึ้นไปตรวจจัดราชการในหัวเมืองมณฑลตะวันตกเฉียงเหนือ ได้ประกาศการจัดแบ่งพื้นที่ออกเป็น "แขวง" ต่อมาได้มีการยุบแขวงขุนยม ที่มีเมืองปง เมืองควน เมืองเชียงม่วน เมืองสะเอียบ เมืองสระ เมืองสวด เมืองงิม เมืองออย ที่ว่าการแขวงตั้งอยู่ที่เมืองปง ซึ่งมีพ่อเมืองปกครอง ขึ้นต่อนครน่าน และมีศูนย์รวมการปกครองที่เมืองเชียงคำ เรียกว่า เขตน่านเหนือ
 
* ได้มีการยุบแขวงขุนยม ที่มีเมืองปง เมืองควน เมืองเชียงม่วน เมืองสะเอียบ เมืองสระ เมืองสวด เมืองงิม เมืองออย ที่ว่าการแขวงตั้งอยู่ที่เมืองปง ซึ่งมีพ่อเมืองปกครอง ขึ้นต่อนครน่าน และมีศูนย์รวมการปกครองที่เมืองเชียงคำ เรียกว่าเขตน่านเหนือ
*ภายหลัง รัฐบาลไทยจึงได้ออกข้อบังคับสำหรับการปกครองมณฑลพายัพ ร.ศ.119 กำหนดให้ใช้ พ.ร.บ. ลักษณะปกครองท้องที่ ร.ศ.116 ในมณฑลพายัพทุกมาตรา แต่ให้เปลี่ยนชื่อตำแหน่งในการปกครองต่างๆที่เป็นภาษาไทยให้เป็นภาษาพื้นเมือง เพื่อให้ราษฎรเข้าใจได้ง่าย คือได้แก่
 
* ข้าหลวงเทศาภิบาล ให้เรียกว่า ข้าหลวงใหญ่
* ผู้ว่าราชการเมือง ให้เรียกว่า เค้าสนามหลวง
เส้น 55 ⟶ 51:
* ผู้ใหญ่บ้าน ให้เรียกว่า แก่บ้าน
 
'''พ.ศ. 2447''' ไทยเสียดินแดนฝั่งขวาแม่น้ำโขงให้ฝรั่งเศส บริเวณน่านเหนือจึงถูกตัดแขวงน้ำของออกไป คงเหลือแต่[[แขวงน้ำอิง]] และ[[แขวงขุนยม]] จึงได้มีการจัดการการปกครองใหม่ รวบรวมเมืองต่างๆ ในบริเวณน่านเหนือ แล้วแบ่งใหม่มีทั้งสิ้น 18 เมือง คือ
# เมืองเชียงคำ
# เมืองเชียงแลง
เส้น 75 ⟶ 71:
# เมืองสวด
 
'''พ.ศ. 2453''' กระทรวงมหาดไทยมีประกาศยกจังหวัดพายัพเหนือ ตั้งเป็นเมืองจัตวาเรียกว่าเมืองเชียงราย รวมอยู่ในมณฑลพายัพ ทำให้เขตบริเวณน่านเหนือได้ถูกแบ่งเสียใหม่
*# เมืองที่ขึ้นกับเมืองเชียงราย ดังนี้
## เมืองเชียงคำ
## เมืองเชียงของ
## เมืองลอ
## เมืองแม่จุน
## เมืองมิน
## เมืองเชียงแลง
*# เมืองที่ขึ้นกับเมืองน่านดังเดิม มีดังนี้
## เมืองปง
## เมืองงิม
## เมืองควร
## เมืองออย
## เมืองสระ
## เมืองเชียงม่วน
## เมืองสะเอียบ
## เมืองสวด
## เมืองเทิง
## เมืองสะเกิน
## เมืองยอด
 
'''พ.ศ. 2456''' ได้รับประกาศฐานะเป็นอำเภอปง และได้โอนไปขึ้นกับ จังหวัดน่าน มีพื้นที่ครอบคลุมดังนี้
# เมืองออย
# เมืองงิม
เส้น 108 ⟶ 104:
# เมืองสระเอียบ ([[อำเภอสอง]] [[จังหวัดแพร่]] ปัจจุบัน)
 
'''พ.ศ. 2463''' ได้เปลี่ยนชื่อจากอำเภอปง เป็น [[อำเภอบ้านม่วง]] จ.[[น่าน]] (ที่ว่าการอำเภอตั้งอยู่บ้านม่วง ตำบลปง ในปัจจุบัน) พ.ศ. 2486 กระทรวงมหาดไทย ได้ปรับปรุงท้องที่ต่างๆทั่วประเทศ ก็ได้เปลี่ยนชื่ออำเภอบ้านม่วง มาเป็น อำเภอปง อีกครั้ง ทั้งนี้เพื่อให้ตรงกับชื่อของตำบลซึ่งเป็นที่ตั้งของที่ว่าการอำเภอปง พ.ศ. 2495 ได้มีการโอนอำเภอปง จังหวัดน่าน มาขึ้นกับจังหวัดเชียงราย ตามพระราชบัญญัติเปลี่ยนแปลงเขตจังหวัดน่าน จังหวัดเชียงราย และจังหวัดแพร่ พ.ศ. 2495 ได้มีเปลี่ยนแปลงดังนี้
 
'''พ.ศ. 2486''' กระทรวงมหาดไทย ได้ปรับปรุงท้องที่ต่างๆทั่วประเทศ ก็ได้เปลี่ยนชื่ออำเภอบ้านม่วง มาเป็น อำเภอปง อีกครั้ง ทั้งนี้เพื่อให้ตรงกับชื่อของตำบลซึ่งเป็นที่ตั้งของที่ว่าการอำเภอปง
 
'''พ.ศ. 2495''' ได้มีการโอนอำเภอปง จังหวัดน่าน มาขึ้นกับจังหวัดเชียงราย ตามพระราชบัญญัติเปลี่ยนแปลงเขตจังหวัดน่าน จังหวัดเชียงราย และจังหวัดแพร่ พ.ศ. 2495 ได้มีเปลี่ยนแปลงดังนี้
* โอนอำเภอปง จังหวัดน่าน มาขึ้นกับจังหวัด[[เชียงราย]]
* โอนตำบลสวด อำเภอปง ไปขึ้นกับจังหวัดน่าน (ปัจจุบันยกฐานะเป็นอำเภอบ้านหลวง จังหวัดน่าน)
* โอน[[ตำบลสะเอียบ]] อำเภอปง ไปขึ้นกับอำเภอสอง จังหวัดแพร่
 
นอกจากนั้นยังมีกำหนดให้เปลี่ยนแปลงเพิ่มเติมในเขตจังหวัดเชียงราย และจังหวัดน่านดังนี้
* โอนหมู่ที่ 10 [[บ้านสบขุ่น]] [[ตำบลควร]] อำเภอปง จังหวัดเชียงราย ไปขึ้น[[ตำบลป่าคา]] [[อำเภอท่าวังผา]] [[จังหวัดน่าน]]
เส้น 129 ⟶ 120:
# เชียงม่วน (อ.เชียงม่วน ปัจจุบัน)
 
'''พ.ศ. 2518''' ได้มีการแบ่งพื้นที่[[ตำบลสระ]] [[ตำบลเชียงม่วน]] ออกจากอำเภอปง จังหวัดเชียงราย พร้อมทั้งประกาศจัดตั้ง[[ตำบลบ้านมาง]]อีกหนึ่งตำบล รวมเป็น [[กิ่งอำเภอเชียงม่วน]] จังหวัด[[เชียงราย]] ขึ้นตรงกับอำเภอปง วันที่ 20 สิงหาคม 2520 ได้มีพระราชบัญญัติจัดตั้งจังหวัดพะเยา และได้โอนอำเภอปง จากการปกครองของจังหวัดเชียงราย ให้มาขึ้นอยู่ในปกครองของจังหวัดพะเยา
- มีพระราชกฤษฎีกายกฐานะกิ่งอำเภอเชียงม่วน ขึ้นตรงกับอำเภอปง เป็น[[อำเภอเชียงม่วน]] ขึ้นตรงกับ[[จังหวัดพะเยา]] วันที่ [[28 สิงหาคม]] [[พ.ศ. 2520]] อำเภอพะเยาได้ยกฐานะขึ้นเป็น [[จังหวัดพะเยา]] นับเป็นจังหวัดที่ 72 ของ[[ประเทศไทย]]
 
'''วันที่ 20 สิงหาคม 2520''' ได้มีพระราชบัญญัติจัดตั้งจังหวัดพะเยา และได้โอนอำเภอปง จากการปกครองของจังหวัดเชียงราย ให้มาขึ้นอยู่ในปกครองของจังหวัดพะเยา
- มีพระราชกฤษฎีกายกฐานะกิ่งอำเภอเชียงม่วน ขึ้นตรงกับอำเภอปง เป็น[[อำเภอเชียงม่วน]] ขึ้นตรงกับ[[จังหวัดพะเยา]]
 
'''วันที่ [[28 สิงหาคม]] [[พ.ศ. 2520]]''' อำเภอพะเยาได้ยกฐานะขึ้นเป็น [[จังหวัดพะเยา]] นับเป็นจังหวัดที่ 72 ของ[[ประเทศไทย]]
 
=== การปกครองส่วนท้องถิ่น ===
ท้องที่อำเภอปงประกอบด้วย[[องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น]] 9 แห่ง ได้แก่
* '''เทศบาลตำบลงิม''' ครอบคลุมพื้นที่บางส่วนของตำบลงิม
* '''เทศบาลตำบลปง''' ครอบคลุมพื้นที่บางส่วนของตำบลปงและบางส่วนของตำบลนาปรัง
* '''เทศบาลตำบลแม่ยม'''<ref>มติที่ประชุมคณะกรรมการพิจารณาเรื่องการขอเปลี่ยนแปลงชื่อจังหวัด อำเภอ และตำบล หมู่บ้าน หรือสถานที่ราชการอื่น ๆ 19 ต.ค. 2552</ref> ครอบคลุมพื้นที่ตำบลปง (เฉพาะนอกเขตเทศบาลตำบลปง)
* '''องค์การบริหารส่วนตำบลควร''' ครอบคลุมพื้นที่ตำบลควรทั้งตำบล
* '''องค์การบริหารส่วนตำบลออย''' ครอบคลุมพื้นที่ตำบลออยทั้งตำบล
* '''องค์การบริหารส่วนตำบลงิม''' ครอบคลุมพื้นที่ตำบลงิม (เฉพาะนอกเขตเทศบาลตำบลงิม)
* '''องค์การบริหารส่วนตำบลผาช้างน้อย''' ครอบคลุมพื้นที่ตำบลผาช้างน้อยทั้งตำบล
* '''องค์การบริหารส่วนตำบลนาปรัง''' ครอบคลุมพื้นที่ตำบลนาปรัง (เฉพาะนอกเขตเทศบาลตำบลปง)
* '''องค์การบริหารส่วนตำบลขุนควร''' ครอบคลุมพื้นที่ตำบลขุนควรทั้งตำบล
 
== ที่ตั้งและอาณาเขต ==
เส้น 175 ⟶ 150:
||7.||ขุนควร||[[ไฟล์:LN-Tambon-Khun Khuan.png|40px]]||Khun Khuan||9||2,270||9,098
|}
 
=== การปกครองส่วนท้องถิ่น ===
ท้องที่อำเภอปงประกอบด้วย[[องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น]] 9 แห่ง ได้แก่
* '''เทศบาลตำบลงิม''' ครอบคลุมพื้นที่บางส่วนของตำบลงิม
* '''เทศบาลตำบลปง''' ครอบคลุมพื้นที่บางส่วนของตำบลปงและบางส่วนของตำบลนาปรัง
* '''เทศบาลตำบลแม่ยม'''<ref>มติที่ประชุมคณะกรรมการพิจารณาเรื่องการขอเปลี่ยนแปลงชื่อจังหวัด อำเภอ และตำบล หมู่บ้าน หรือสถานที่ราชการอื่น ๆ 19 ต.ค. 2552</ref> ครอบคลุมพื้นที่ตำบลปง (เฉพาะนอกเขตเทศบาลตำบลปง)
* '''องค์การบริหารส่วนตำบลควร''' ครอบคลุมพื้นที่ตำบลควรทั้งตำบล
* '''องค์การบริหารส่วนตำบลออย''' ครอบคลุมพื้นที่ตำบลออยทั้งตำบล
* '''องค์การบริหารส่วนตำบลงิม''' ครอบคลุมพื้นที่ตำบลงิม (เฉพาะนอกเขตเทศบาลตำบลงิม)
* '''องค์การบริหารส่วนตำบลผาช้างน้อย''' ครอบคลุมพื้นที่ตำบลผาช้างน้อยทั้งตำบล
* '''องค์การบริหารส่วนตำบลนาปรัง''' ครอบคลุมพื้นที่ตำบลนาปรัง (เฉพาะนอกเขตเทศบาลตำบลปง)
* '''องค์การบริหารส่วนตำบลขุนควร''' ครอบคลุมพื้นที่ตำบลขุนควรทั้งตำบล
 
== สถานที่ท่องเที่ยว ==