ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
CommonsDelinker (คุย | ส่วนร่วม)
นำภาพ "PACCON_2008_logo.jpg" ออก ซึ่งถูกลบที่วิกิมีเดียคอมมอนส์โดย Wdwd เนื่องจาก Copyright violation, see c:Commons:Licensing
InternetArchiveBot (คุย | ส่วนร่วม)
Rescuing 11 sources and tagging 0 as dead.) #IABot (v2.0.8
บรรทัด 17:
ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ [[มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์]] ได้รับการจัดอันดับให้ติดอันดับโลกสาขาเคมี (Chemistry) โดย QS World University Rankings by Subject ในกลุ่ม Natural Sciences, โดย Times Higher Education World University Rankings by subjects ในกลุ่ม Physical Sciences สาขา Chemistry, โดย Nature INDEX (Global) ในสาขา Chemical Sciences, และ Best Global Universities for Chemistry โดย U.S. News & World Report ในสาขา Chemistry นอกจากนี้ ยังได้รับการประเมินจาก[[สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย]] (สกว.) อยู่ในระดับ 4 (ดี) ในสาขาเคมี (Chemistry) ใน[[การประเมินคุณภาพผลงานวิจัยเชิงวิชาการโดย สกว.#การประเมินครั้งที่ 2 (พ.ศ. 2553)|การประเมินครั้งที่ 2 พ.ศ. 2553]]<ref>สกว. [http://rescom.trf.or.th/display/keydefault.aspx?id_colum=2521 การประเมินครั้งที่ 2 พ.ศ. 2553] เรียกดูวันที่2019-11-04</ref> และ[[การประเมินคุณภาพผลงานวิจัยเชิงวิชาการโดย สกว.#การประเมินครั้งที่ 3 (พ.ศ. 2554)|การประเมินครั้งที่ 3 พ.ศ. 2554]]<ref>สกว. [http://rescom.trf.or.th/display/keydefault.aspx?id_colum=2893 การประเมินครั้งที่3 พ.ศ. 2554] เรียกดูวันที่2019-11-04</ref>
 
นิสิตเก่าที่มีชื่อเสียง อาทิ [[สมเด็จพระเจ้าลูกเธอเจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์อัครราชกุมารี|สมเด็จพระเจ้าน้องนางเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี กรมพระศรีสวางควัฒน วรขัตติยราชนารี]] เจ้าฟ้านักวิทยาศาสตร์ผู้มีผลงานดีเด่นของโลกด้านสารเคมีก่อมะเร็งและพิษวิทยาสิ่งแวดล้อม และเป็นนักวิทยาศาสตร์สตรีพระองค์แรกของโลกที่ได้รับการทูลเกล้าฯ ถวายเหรียญทองคำอัลเบิร์ตไอน์สไตน์<ref>Chulabhorn Research Institute. [http://www.cri.or.th/en/awards_einstein.php 1986: Einstein Gold Medal of UNESCO] {{Webarchive|url=https://web.archive.org/web/20200130135049/https://www.cri.or.th/en/awards_einstein.php |date=2020-01-30 }}, เรียกดูวันที่2014-10-27</ref><ref>กฤษณาชุติมา. (2531). ที่ระลึกในพิธีเปิดอาคารสมาคมนิสิตเก่ามหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ในพระบรมราชูปถัมภ์ 3 สิงหาคม 2531. [http://kukr2.lib.ku.ac.th/kukr_es/kukr/search_detail/dowload_digital_file/23322/17115 ทูลกระหม่อมในมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์]. (น. 198 หน้า). กรุงเทพฯ: สมาคมนิสิตเก่ามหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ในพระบรมราชูปถัมภ์.</ref><ref>กฤษณาชุติมา. (2536). [http://kukr2.lib.ku.ac.th/kukr_es/kukr/search_detail/dowload_digital_file/27178/17114 สี่ปีในมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์]. วารสารไทย, 13(51), 13-17.</ref><ref>ศิลป์พิมลวัฒนา, วรุตม์ไฉไลพันธุ์, นันท์นภัสพลเศรษฐเลิศ, โยธินโชติจันทราภรณ์, สมศักดิ์จันทวิชชประภา, ปกรสิณศุภสินเจริญ, อรปวีณ์วงศ์วชิรา, สิทธิพงษ์ติยะวรากุล, เบญจรัตน์วงษ์วิลัยและเทียนทิพย์ฉัตรชัยดำรง. (2562). [https://ku.ac.th/kunews/news62/11/HappyToBeKUPROVE2019.pdf หนังสือเผยแพร่งานพระราชทานปริญญาบัตรมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์พ.ศ. 2562]. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.</ref><ref>โรงเรียนวิทยาศาสตร์จุฬาภรณราชวิทยาลัยนครศรีธรรมราช[http://www.pccnst.ac.th/pcshsnst/princess-chulabhorn/ เจ้าฟ้านักวิทยาศาสตร์-ประวัติการศึกษา] {{Webarchive|url=https://web.archive.org/web/20200226053416/http://www.pccnst.ac.th/pcshsnst/princess-chulabhorn/ |date=2020-02-26 }} เรียกดูวันที่2019-12-27</ref>, [[พูนภิรมย์ ลิปตพัลลภ|พลโทหญิงพูนภิรมย์ ลิปตพัลลภ]] อดีตรัฐมนตรีว่าการ[[กระทรวงพลังงาน]]<ref>เกษตรศาสตร์ปราดเปรื่อง. [https://www.ku.ac.th/honour/images/pdf/brochure6.pdf เกษตรศาสตร์ปราดเปรื่องรุ่นที่6] เรียกดูวันที่2020-01-14</ref>, และ[[ผุสดี ตามไท|ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ผุสดี ตามไท]] อดีตรักษาราชการแทน[[ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร]] อดีตรอง[[ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร]] ผู้อำนวยการสถาบันผู้หญิงกับการเมือง อดีตคณะทำงานด้านสิ่งแวดล้อมของ[[รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม]] พ.ศ. 2534-2535<ref>สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร. [https://www.parliament.go.th/ewtadmin/ewt/parliament_parcy/ewt_news.php?nid=845&filename=index สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร - นางผุสดี ตามไท] เรียกดูวันที่ 2020-03-02</ref><ref>สถาบันพระปกเกล้า. [http://www.kpi.ac.th/media_kpiacth/pdf/M10_184.pdf สตรีกับการเมือง ความเป็นจริง พื้นที่ทางการเมือง และการขับเคลื่อน] เรียกดูวันที่ 2020-03-02</ref> เป็นต้น
 
== ประวัติภาควิชา==
บรรทัด 502:
{{ดูเพิ่มที่||คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์#โอลิมปิกวิชาการ}}
 
ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เป็นส่วนหนึ่งของศูนย์ สอวน. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ซึ่งเป็นศูนย์ระดับภูมิภาค<ref>คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์[https://www.sci.ku.ac.th/blog/category/education/posn ศูนย์สอวน. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ (ศูนย์สอวน. วท.มก.)] เรียกดูวันที่2019-07-09</ref><ref>มูลนิธิส่งเสริมโอลิมปิกวิชาการและพัฒนามาตรฐานวิทยาศาสตร์ศึกษา ในพระอุปถัมภ์สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ (สอวน.) [https://www.posn.or.th/projects/%E0%B8%84%E0%B9%88%E0%B8%B2%E0%B8%A2-%E0%B8%AA%E0%B8%AD%E0%B8%A7%E0%B8%99 ค่ายสอวน.] {{Webarchive|url=https://web.archive.org/web/20200105160915/https://www.posn.or.th/projects/%E0%B8%84%E0%B9%88%E0%B8%B2%E0%B8%A2-%E0%B8%AA%E0%B8%AD%E0%B8%A7%E0%B8%99 |date=2020-01-05 }} เรียกดูวันที่2019-07-09</ref> ภาควิชาเคมีมีหน้าที่รับผิดชอบในการรับสมัครและสอบคัดเลือกนักเรียนในเขตพื้นที่เพื่อเข้าค่ายอบรมในสาขาวิชาเคมีตลอดจนคัดเลือกตัวแทนศูนย์สอวน. มก. สาขาเคมี เพื่อเข้าแข่งขันเคมีโอลิมปิกระดับชาติเพื่อคัดเลือกเป็นตัวแทนประเทศไทยในการแข่งขันเคมีโอลิมปิกระดับนานาชาติต่อไป<ref>ศูนย์สอวน. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์[https://www.sci.ku.ac.th/web2018/wp-content/uploads/2017/04/svon110460.pdf รายชื่อผู้ผ่านการคัดเลือกเพื่อเข้าร่วมแข่งขันโอลิมปิกวิชาการระดับชาติประจำปี2559] เรียกดูวันที่2019-10-23</ref><ref>กระทรวงศึกษาธิการ[https://www.moe.go.th/moe/th/news/detail.php?NewsID=54575&Key=news11 ผู้แทนประเทศไทยเคมีโอลิมปิกคว้า1 เหรียญทอง3 เหรียญเงินที่ฝรั่งเศส] เรียกดูวันที่2019-10-23</ref><ref>กระทรวงศึกษาธิการ[https://www.moe.go.th/moe/th/news/detail.php?NewsID=45868&Key=news_act นักเรียนโอลิมปิกวิชาการ] เรียกดูวันที่2019-10-23</ref>
 
ทั้งนี้ ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ได้รับเกียรติให้เป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขันเคมีโอลิมปิกทั้งในระดับนานาชาติและระดับชาติถึง 2 ครั้ง ซึ่งในปี พ.ศ. 2542 ได้รับหน้าที่ให้เป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขัน[[เคมีโอลิมปิกระหว่างประเทศ|เคมีโอลิมปิกระดับนานาชาติ]] ครั้งที่ 31 ซึ่งถือเป็นครั้งแรกของประเทศไทยในการทำหน้าที่เป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขันเคมีโอลิมปิกในระดับนานาชาติ โดยการแข่งขันครั้งดังกล่าวถูกจัดขึ้น ณ [[กรุงเทพมหานคร]] [[ประเทศไทย]]<ref>สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) ร่วมกับ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ [https://www.ku.ac.th/news/icho/ การแข่งขันเคมีโอลิมปิกระหว่างประเทศ ครั้งที่ 31 พ.ศ. 2542] เรียกดูวันที่ 2019-07-08</ref><ref>สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา (ONEC) [http://backoffice.onec.go.th/uploads/Book/870-file.pdf ภาพรวมการแข่งขันโอลิมปิกวิชาการ หัวข้อที่ 2 วิชาเคมี] เรียกดูวันที่ 2019-07-08</ref><ref>มติชนออนไลน์ [https://www.matichon.co.th/education/news_599966 Back to the IChO : เจาะเวลาหา ‘เคมีโอลิมปิก’] เรียกดูวันที่ 2019-10-22</ref><ref>{{cite web|title=THAILAND AND IChO - HISTORY|url=https://icho2017.sc.mahidol.ac.th/History.php|website=The International Chemistry Olympiad 2017 (IChO 2017)|accessdate=27 November 2020|archive-date=2020-12-05|archive-url=https://web.archive.org/web/20201205084841/https://icho2017.sc.mahidol.ac.th/History.php|url-status=dead}}</ref> และในปี พ.ศ. 2558 ได้รับเกียรติอีกครั้งให้เป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขัน[[เคมีโอลิมปิกระดับชาติ ประเทศไทย|เคมีโอลิมปิกระดับชาติ]] ครั้งที่ 11 ซึ่งจัดขึ้น ณ [[กรุงเทพมหานคร]] [[ประเทศไทย]]<ref>{{cite web|author= |url=http://chem.sci.ku.ac.th/TChO11th/
 
|title=Thailand Chemistry Olympiad 11th |publisher= |date= |accessdate=2019-06-19}}</ref><ref>{{cite web|author= |url=
บรรทัด 554:
| <center>102</center>
| valign = "top" | [[ไฟล์:KU logo.jpg|20x20px]] [[มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์]] </br>[[ไฟล์:IPST Logo.png|20x20px]] สสวท. และมูลนิธิสอวน.||
*[http://chem.sci.ku.ac.th/TChO11th/index.php/2015-01-06-14-40-14 ข้อสอบตัวอย่างเคมีโอลิมปิก11th] {{Webarchive|url=https://web.archive.org/web/20200226084744/http://chem.sci.ku.ac.th/TChO11th/index.php/2015-01-06-14-40-14 |date=2020-02-26 }}
|
|
บรรทัด 565:
[[สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี]] (พระอิสริยยศในขณะนั้น) ประสูติเมื่อวันที่ 4 กรกฎาคม พ.ศ. 2500 ทรงสำเร็จการศึกษาชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย แผนกวิทยาศาสตร์ ทรงร่วมสอบคัดเลือกเช่นเดียวกับนักเรียนอื่น ๆ และทรงผ่านการสอบคัดเลือกเข้าศึกษาต่อใน[[คณะวิทยาศาสตร์และอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์]] เมื่อปีการศึกษา 2518<ref>sanook. [https://www.sanook.com/campus/1400520/ ภาพหาดูยาก ใบสมัครสอบเอ็นทรานซ์ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ สมัยทรงพระเยาว์]. เรียกดูวันที่ 2020-10-05</ref><ref>กรุงเทพธุรกิจ. [https://www.bangkokbiznews.com/news/detail/834233 เฉลิมพระนามาภิไธยใหม่ ฟ้าหญิงจุฬาภรณ์]. เรียกดูวันที่ 2020-10-05</ref> โดยทรงเลือกสาขาวิชาเคมีเป็นวิชาเอก เนื่องจากทรงตั้งปณิธานว่าจะทรงนำความรู้มาใช้ในงานทดลองของโครงการต่าง ๆ ที่ดำเนินการตามพระราชดำริของ[[พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร]]และ[[สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง]] ซึ่งนับเป็น "สมเด็จเจ้าฟ้าพระองค์ที่สอง" ที่ทรงศึกษาในมหาวิทยาลัยในประเทศไทย<ref>คมชัดลึก. [https://www.komchadluek.net/news/today-in-history/378100 วันประสูติ สมเด็จพระเจ้าน้องนางเธอฯ]. เรียกดูวันที่ 2020-10-05</ref>
 
ทั้งนี้ [[พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจักรพันธ์เพ็ญศิริ]] ได้มอบหมายให้ศาสตราจารย์เกียรติคุณ ดร.กฤษณา ชุติมา เป็นพระอาจารย์ที่ปรึกษาตลอดระยะเวลาที่ทรงศึกษา ระหว่างที่ทรงศึกษาได้ทรงแสดงพระปรีชาสามารถทั้งในการศึกษาและการวิจัย และในระหว่างปิดภาคเรียนชั้นปีที่ 3 ทรงปฏิบัติการฝึกงานตามเกณฑ์ของมหาวิทยาลัย โดยเสด็จไปฝึกงาน ณ [[กรมวิทยาศาสตร์บริการ|กรมวิทยาศาสตร์]] [[กระทรวงอุตสาหกรรม]] และ[[สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย|สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์ประยุกต์แห่งประเทศไทย]] และทรงสำเร็จการศึกษาในปีการศึกษา 2522 และมีผลการเรียนดีเด่น ทรงได้รับปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต (เคมี) เกียรตินิยมอันดับหนึ่ง เหรียญทอง ในฐานะที่ทรงสอบได้คะแนนยอดเยี่ยมตลอดหลักสูตร และทรงเข้ารับพระราชทานปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิตจาก[[พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร]] เมื่อวันที่ 19 กรกฎาคม พ.ศ. 2522<ref>ราชกิจจานุเบกษา [http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2522/D/193/3.PDF ประกาศกระทรวงการคลัง เรื่อง ออกใช้เหรียญกษาปณ์ที่ระลึกในโอกาสที่สมเด็จพระเจ้าลูกเธอเจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ ทรงสำเร็จการศึกษา ได้รับปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต จากมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์], เล่ม ๙๖, ตอน ๑๙๓, ๒๒ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๒๒, ฉบับพิเศษ หน้า ๓</ref> รวมทั้งทรงได้รับรางวัลจาก[[แถบ นีละนิธิ|มูลนิธิศาสตราจารย์ ดร.แถบ นีละนิธิ]] สำหรับคะแนนยอดเยี่ยมในสาขาวิชาชีววิทยาและสาขาเคมีด้วย<ref>มูลนิธิจุฬาภรณ์. [https://lib.cri.or.th/wp-content/uploads/2017/11/CRINewsletter2017special.pdf ทั้งชีวิต อุทิศเพื่อราษฎร์] {{Webarchive|url=https://web.archive.org/web/20190809164558/https://lib.cri.or.th/wp-content/uploads/2017/11/CRINewsletter2017special.pdf |date=2019-08-09 }}. พระประวัติ. เรียกดูวันที่ 2020-03-03</ref>
 
ศาสตราจารย์เกียรติคุณ ดร.กฤษณา ชุติมา พระอาจารย์ที่ปรึกษาและอดีต[[คณบดี]][[คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์]] ได้เขียนไว้ตอนหนึ่งในหนังสือที่ระลึกพิธีเปิดอาคารสมาคมนิสิตเก่ามหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ว่า<ref>กฤษณา ชุติมา. (2531). ที่ระลึกในพิธีเปิดอาคารสมาคมนิสิตเก่ามหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ 3 สิงหาคม 2531. [http://kukr2.lib.ku.ac.th/kukr_es/kukr/search_detail/dowload_digital_file/23322/17115 ทูลกระหม่อมในมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์]. (น. 198 หน้า). กรุงเทพฯ: สมาคมนิสิตเก่ามหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ในพระบรมราชูปถัมภ์.</ref><ref>กฤษณา ชุติมา. (2536). [http://kukr2.lib.ku.ac.th/kukr_es/kukr/search_detail/dowload_digital_file/27178/17114 สี่ปีในมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์]. วารสารไทย, 13(51), 13-17.</ref>
บรรทัด 579:
=== การสอนและวิจัย===
{{ดูเพิ่มที่|รางวัลนักวิทยาศาสตร์ดีเด่นของไทย| รางวัลนักวิทยาศาสตร์รุ่นใหม่| รางวัลนักวิจัยดีเด่น| รางวัลนักวิจัยรุ่นใหม่ดีเด่น สกว.-สกอ.| เมธีวิจัยอาวุโส สกว.}}
ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ มีคณาจารย์ที่ได้รับการยกย่องเชิดชูเกียรติ โดยได้รับรางวัลดีเด่นในด้านการสอนและการวิจัยทั้งในระดับชาติและนานาชาติ อาทิ รางวัลนักวิทยาศาสตร์ดีเด่น จำนวน 1 ท่าน (ประจำปี พ.ศ. 2546 สาขาเคมี) ได้แก่ [[ศาสตราจารย์ ดร. จำรัส ลิ้มตระกูล]]<ref>มูลนิธิส่งเสริมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในพระบรมราชูปถัมภ์. โครงการรางวัลนักวิทยาศาสตร์ดีเด่น. [https://www.promotion-scitec.or.th/pdf/list_outsciaward_2525-2562.pdf รายชื่อและผลงานย่อของนักวิทยาศาสตร์ดีเด่นทั้งหมด (พ.ศ. 2525-2562)] {{Webarchive|url=https://web.archive.org/web/20200111152932/https://www.promotion-scitec.or.th/pdf/list_outsciaward_2525-2562.pdf |date=2020-01-11 }} เรียกดูวันที่ 2020-01-10</ref> รางวัลนักวิทยาศาสตร์รุ่นใหม่ จำนวน 1 ท่าน (ประจำปี พ.ศ. 2540 สาขาเคมี) ได้แก่ [[สุภา หารหนองบัว|ศาสตราจารย์ ดร. สุภา หารหนองบัว]]<ref>มูลนิธิส่งเสริมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในพระบรมราชูปถัมภ์. โครงการรางวัลนักวิทยาศาสตร์รุ่นใหม่. [https://www.promotion-scitec.or.th/pdf/list_youngsciaward_2534-2562.pdf รายช่อนักวิทยาศาสตร์รุ่นใหม่ทั้งหมด (พ.ศ. 2534-2562)] {{Webarchive|url=https://web.archive.org/web/20200111152931/https://www.promotion-scitec.or.th/pdf/list_youngsciaward_2534-2562.pdf |date=2020-01-11 }} เรียกดูวันที่ 2020-01-10</ref> รางวัลนักวิจัยดีเด่นแห่งชาติ จำนวน 1 ท่าน (พ.ศ. 2541 สาขาวิทยาศาสตร์เคมีและเภสัช) ได้แก่ ศาสตราจารย์ ดร. จำรัส ลิ้มตระกูล<ref>มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. ข่าวเกษตรศาสตร์. [https://www.ku.ac.th/kunews/news52/7/reward_52.html รางวัลบุคลากรดีเด่นด้านการวิจัย] เรียกดูวันที่ 2019-01-10</ref> รางวัลนักวิจัยรุ่นใหม่ดีเด่น สกว.-สกอ. จำนวน 1 ท่าน (ประจำประจำปี พ.ศ. 2547 สาขาเคมี) ได้แก่ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. พิบูลย์ พันธุ รางวัล[[เมธีวิจัยอาวุโส สกว.]] จำนวน 2 ท่าน (ประจำปี พ.ศ. 2545 และประจำปี พ.ศ. 2548 สาขาเคมี, ประจำปี พ.ศ. 2550 และประจำปี พ.ศ. 2553 สาขาเคมีคอมพิวเตอร์) ได้แก่ ศาสตราจารย์ ดร. จำรัส ลิ้มตระกูล และ[[สุภา หารหนองบัว|ศาสตราจารย์ ดร. สุภา หารหนองบัว]] ตามลำดับ รางวัลบุคคลดีเด่นของชาติ 1 ท่าน (ประจำปี พ.ศ. 2553 สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี) ได้แก่ ศาสตราจารย์ ดร. จำรัส ลิ้มตระกูล<ref>[ม.ป.ท.]. (2554). นิทรรศการงานวิจัย บนเส้นทางงานวิจัย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ปี 2554 งานเกษตรแฟร์ ประจำปี 2554. [http://kukr2.lib.ku.ac.th/kukr_es/kukr/search_detail/dowload_digital_file/309264/49420 ศาสตราจารย์ ดร.จำรัส ลิ้มตระกูล ได้รับการเชิดชูเกียรติให้เป็นบุคคลดีเด่นของชาติ สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ประจำปี พ.ศ. 2553 จาก คณะกรรมการเอกลักษณ์ของชาติ สำนักงานปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี โดยเป็นผู้บุกเบิกการวิจัยด้านการออกแบบวัสดุที่มีโครงสร้างระดับนาโนเมตร เพื่อประยุกต์ใช้ในภาคอุตสาหกรรม และมีผลงานวิจัยที่เป็นประโยชน์ในเชิงอุตสาหกรรมและพาณิชย์]. (น. ). [ม.ป.ท.]. เรียกดูวันที่ 2020-01-12</ref><ref>มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. [https://www.ku.ac.th/newwww/userfileupload/jamrus.pdf ศาสตราจารย์ ดร. จำรัส ลิ้มตระกูล] เรียกดูวันที่ 2020-01-11</ref> ศาสตรเมธาจารย์คนแรกของประเทศไทย จำนวน 1 ท่าน ได้แก่ ศาสตราจารย์ ดร.จำรัส ลิ้มตระกูล<ref>มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ [https://www.ku.ac.th/kunews/news52/4/nstda.html นักเคมีมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ได้รับยกย่องให้เป็น "ศาสตรเมธาจารย์คนแรกของไทย" (NSTDA Chair Professor)] เรียกดูวันที่ 2009-04-07 </ref><ref>NSTDA Chair Professor 2009 [https://www.ku.ac.th/kunews/news52/4/News-Details.pdf ศาสตราเมธาจารย์ สวทช ประจำปี 2552] เรียกดูวันที่ 2009-04-07</ref><ref>มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ [https://www.ku.ac.th/kunews/news52/4/project-details.pdf โครงการที่ไดรับทุน NSTDA Chair Professor] เรียกดูวันที่ 2009-04-07</ref> รางวัลอาจารย์ดีเด่นแห่งชาติ จากที่ประชุมประธานสภาอาจารย์ มหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย (ปอมท.) จำนวน 1 ท่าน (ประจำปี พ.ศ. 2554 สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี) ได้แก่ ศาสตราจารย์ ดร. จำรัส ลิ้มตระกูล รางวัลนักวิจัยด้านสมุนไพรดีเด่น (ประจำปี พ.ศ. 2549) จำนวน 1 ท่าน ได้แก่ ศาสตราจารย์เกียรติคุณ ดร.งามผ่อง คงคาทิพย์ รางวัล TWAS Prize for Young Scientists in Thailand จำนวน 1 ท่าน (ประจำปี พ.ศ. 2545 สาขาเคมี) ได้แก่ [[สุภา หารหนองบัว|ศาสตราจารย์ ดร. สุภา หารหนองบัว]]<ref>สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ. [https://www.nrct.go.th/%E0%B8%A3%E0%B8%B2%E0%B8%87%E0%B8%A7%E0%B8%B1%E0%B8%A5/%E0%B8%A3%E0%B8%B2%E0%B8%87%E0%B8%A7%E0%B8%B1%E0%B8%A5TWAS รางวัล TWAS Prize for Young Scientists in Thailand]. เรียกดูวันที่ 2020-01-24</ref> ศาสตราจารย์เกียรติคุณ (สาขาเคมี) จำนวน 4 ท่าน ได้แก่ ศาสตราจารย์เกียรติคุณ ดร.กฤษณา ชุติมา, ศาสตราจารย์เกียรติคุณ ดร.บุญส่ง คงคาทิพย์, ศาสตราจารย์เกียรติคุณ ดร.งามผ่อง คงคาทิพย์, ศาสตราจารย์เกียรติคุณ ดร.ภควดี สุทธิไวยกิจ เป็นต้น
 
=== การบริหารและคณะกรรมการสากล ===
ในด้านการบริหารมีคณาจารย์จากภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ ได้รับเกียรติให้ดำรงตำแหน่งประธานสภาคณบดีวิทยาศาสตร์แห่งประเทศไทย (สควทท.) ระยะเวลา 1 วาระ ช่วงปี พ.ศ. 2558-2560 จำนวน 1 ท่าน ได้แก่ [[สุภา หารหนองบัว|ศาสตราจารย์ ดร. สุภา หารหนองบัว]]<ref>สภาคณบดีวิทยาศาสตร์แห่งประเทศไทย. [https://csdt.sc.chula.ac.th/president.php รายนามประธานสภาฯ] เรียกดูวันที่ 2020-02-04</ref> ดำรงตำแหน่งนายกสมาคมเคมีแห่งประเทศไทยฯ จำนวน 2 ท่าน ได้แก่ อาจารย์ ดร.สุรพล ภัทราคร ช่วงปี พ.ศ. 2542-2543 และ[[สุภา หารหนองบัว|ศาสตราจารย์ ดร. สุภา หารหนองบัว]] ช่วงปี พ.ศ. 2560-2562<ref>สมาคมเคมีแห่งประเทศไทยในพระอุปถัมภ์ ศาสตราจารย์ ดร. สมเด็จพระเจ้าน้องนางเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี
กรมพระศรีสวางควัฒน วรขัตติยราชนารี. [https://www.chemsocthai.org/committee/house-committee/ ทำเนียบนายกสมาคมเคมี] เรียกดูวันที่ 2020-02-04</ref> คณาจารย์ได้รับแต่งตั้งให้เป็นคณะกรรมการใน Division และ Committee ขององค์การสหภาพเคมีบริสุทธิ์และเคมีประยุกต์ระหว่างประเทศ (International Union of Pure and Applied Chemistry, IUPAC) ในช่วงปี ค.ศ. 2020-2021 จำนวน 2 ท่าน ใน 2 สาขา คือ ตำแหน่ง IUPAC Standing Committee of the Committee on Publications and Cheminformatics Data standards (CPCDS) 1 ท่าน ได้แก่ [[สุภา หารหนองบัว|ศาสตราจารย์ ดร. สุภา หารหนองบัว]] และตำแหน่ง IUPAC National Representative of the Division (VIII) Chemical Nomenclature and Structure Representation 1 ท่าน ได้แก่ รองศาสตราจารย์ ดร. ลัดดา มีศุข<ref>สมาคมเคมีแห่งประเทศไทยในพระอุปถัมภ์ ศาสตราจารย์ ดร. สมเด็จพระเจ้าน้องนางเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี
กรมพระศรีสวางควัฒน วรขัตติยราชนารี. [https://www.facebook.com/846513412151914/posts/2072776932858883/?d=n สมาคมเคมีแห่งประเทศไทยฯ ขอแสดงความยินดีกับบุคลากรที่ได้รับการคัดเลือกจาก IUPAC (International Union of Pure and Applied Chemistry) เป็นคณะกรรมการใน Division ต่าง ๆ ของ IUPAC] เรียกดูวันที่ 2020-02-05</ref><ref>ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. [http://chemistry3.chemistry.sc.chula.ac.th/index.php/th/about-us-th/news-and-events/1027-%E0%B8%84%E0%B8%93%E0%B8%B2%E0%B8%88%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%A2%E0%B9%8C%E0%B8%88%E0%B8%B2%E0%B8%81%E0%B8%A0%E0%B8%B2%E0%B8%84%E0%B8%A7%E0%B8%B4%E0%B8%8A%E0%B8%B2%E0%B9%80%E0%B8%84%E0%B8%A1%E0%B8%B5-%E0%B8%88%E0%B8%B8%E0%B8%AC%E0%B8%B2%E0%B8%AF-%E0%B9%84%E0%B8%94%E0%B9%89%E0%B8%A3%E0%B8%B1%E0%B8%9A%E0%B9%80%E0%B8%A5%E0%B8%B7%E0%B8%AD%E0%B8%81%E0%B9%83%E0%B8%AB%E0%B9%89%E0%B9%80%E0%B8%9B%E0%B9%87%E0%B8%99%E0%B8%84%E0%B8%93%E0%B8%B0%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%A3%E0%B8%A1%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%82%E0%B8%AD%E0%B8%87-iupac-%E0%B8%AA%E0%B8%B3%E0%B8%AB%E0%B8%A3%E0%B8%B1%E0%B8%9A%E0%B8%9B%E0%B8%B5-2563-2564.html รายชื่อผู้ที่ได้รับเลือกให้เป็นกรรมการของ IUPAC สำหรับปี 2563 - 2564] {{Webarchive|url=https://web.archive.org/web/20200205034026/http://chemistry3.chemistry.sc.chula.ac.th/index.php/th/about-us-th/news-and-events/1027-%25E0%25B8%2584%25E0%25B8%2593%25E0%25B8%25B2%25E0%25B8%2588%25E0%25B8%25B2%25E0%25B8%25A3%25E0%25B8%25A2%25E0%25B9%258C%25E0%25B8%2588%25E0%25B8%25B2%25E0%25B8%2581%25E0%25B8%25A0%25E0%25B8%25B2%25E0%25B8%2584%25E0%25B8%25A7%25E0%25B8%25B4%25E0%25B8%258A%25E0%25B8%25B2%25E0%25B9%2580%25E0%25B8%2584%25E0%25B8%25A1%25E0%25B8%25B5-%25E0%25B8%2588%25E0%25B8%25B8%25E0%25B8%25AC%25E0%25B8%25B2%25E0%25B8%25AF-%25E0%25B9%2584%25E0%25B8%2594%25E0%25B9%2589%25E0%25B8%25A3%25E0%25B8%25B1%25E0%25B8%259A%25E0%25B9%2580%25E0%25B8%25A5%25E0%25B8%25B7%25E0%25B8%25AD%25E0%25B8%2581%25E0%25B9%2583%25E0%25B8%25AB%25E0%25B9%2589%25E0%25B9%2580%25E0%25B8%259B%25E0%25B9%2587%25E0%25B8%2599%25E0%25B8%2584%25E0%25B8%2593%25E0%25B8%25B0%25E0%25B8%2581%25E0%25B8%25A3%25E0%25B8%25A3%25E0%25B8%25A1%25E0%25B8%2581%25E0%25B8%25B2%25E0%25B8%25A3%25E0%25B8%2582%25E0%25B8%25AD%25E0%25B8%2587-iupac-%25E0%25B8%25AA%25E0%25B8%25B3%25E0%25B8%25AB%25E0%25B8%25A3%25E0%25B8%25B1%25E0%25B8%259A%25E0%25B8%259B%25E0%25B8%25B5-2563-2564.html |date=2020-02-05 }} เรียกดูวันที่ 2020-02-05</ref> และช่วงปี ค.ศ. 2018-2019 จำนวน 1 ท่าน ใน 2 สาขา ได้แก่ รองศาสตราจารย์ ดร. ลัดดา มีศุข ในตำแหน่ง IUPAC Associate Member of the Division II: Inorganic Chemistry และตำแหน่ง IUPAC National Representative of the Division (VIII) Chemical Nomenclature and Structure Representation<ref>คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. [https://www.sci.ku.ac.th/blog/6507-2 ขอแสดงความยินดีกับ รศ. ดร.ลัดดา มีศุข เป็น Associate Member (AM) จาก IUPAC] เรียกดูวันที่ 2020-02-05</ref><ref>สมาคมเคมีแห่งประเทศไทยในพระอุปถัมภ์ ศาสตราจารย์ ดร. สมเด็จพระเจ้าน้องนางเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี
กรมพระศรีสวางควัฒน วรขัตติยราชนารี. [https://www.chemsocthai.org/%E0%B8%AA%E0%B8%A1%E0%B8%B2%E0%B8%84%E0%B8%A1%E0%B9%80%E0%B8%84%E0%B8%A1%E0%B8%B5%E0%B9%81%E0%B8%AB%E0%B9%88%E0%B8%87%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B9%80%E0%B8%97%E0%B8%A8%E0%B9%84%E0%B8%97%E0%B8%A2-3/ สมาคมเคมีแห่งประเทศไทยฯ ขอแสดงความยินดีกับบุคลากรที่ได้รับการคัดเลือกจาก IUPAC: International Union of Pure and Applied Chemistry เป็นคณะกรรมการใน Division ต่าง ๆ และ Committee ของ IUPAC] เรียกดูวันที่ 2020-02-05</ref> และมีคณาจารย์ได้ดำรงตำแหน่งรองอธิการบดีฝ่ายวิชาการ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ จำนวน 1 ท่าน ได้แก่ ศาสตราจารย์เกียรติคุณ ดร. กฤษณา ชุติมา, ได้ดำรงตำแหน่งรองอธิการบดีฝ่ายวิเทศสัมพันธ์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ จำนวน 1 ท่าน ได้แก่ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. สุขประชา วาจานนท์ นอกจากนี้ ยังมีคณาจารย์จากภาควิชาเคมีได้รับเกียรติให้ดำรงตำแหน่งคณบดีคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ จำนวน 6 ท่าน ได้แก่ ศาสตราจารย์เกียรติคุณ ดร. กฤษณา ชุติมา (คณบดีฯ ท่านที่ 2), ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. สุขประชา วาจานนท์ (คณบดีฯ ท่านที่ 3), รองศาสตราจารย์ ดร.วินิจ เจียมสกุล (คณบดีฯ ท่านที่ 5), อาจารย์ ดร.สุรพล ภัทราคร (คณบดีฯ ท่านที่ 6), [[สุภา หารหนองบัว|ศาสตราจารย์ ดร. สุภา หารหนองบัว]] (คณบดีฯ ท่านที่ 7), และรองศาสตราจารย์ ดร.อภิสิฏฐ์ ศงศะเสน คณบดีคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ คนปัจจุบัน
 
=== คณาจารย์และนิสิตเก่า===
ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ มีคณาจารย์และนิสิตเก่าที่ประสบความสำเร็จและกลายเป็นที่รู้จัก อาทิ
* [[สมเด็จพระเจ้าลูกเธอเจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์อัครราชกุมารี|สมเด็จพระเจ้าน้องนางเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี กรมพระศรีสวางควัฒน วรขัตติยราชนารี]] (KU 35) เจ้าฟ้านักวิทยาศาสตร์ผู้มีผลงานดีเด่นของโลกด้านสารเคมีก่อมะเร็งและพิษวิทยาสิ่งแวดล้อม และเป็นนักวิทยาศาสตร์สตรีพระองค์แรกของโลกที่ได้รับการทูลเกล้าฯ ถวายเหรียญทองคำอัลเบิร์ตไอน์สไตน์<ref>Chulabhorn Research Institute. [http://www.cri.or.th/en/awards_einstein.php 1986: Einstein Gold Medal of UNESCO] {{Webarchive|url=https://web.archive.org/web/20200130135049/https://www.cri.or.th/en/awards_einstein.php |date=2020-01-30 }}, เรียกดูวันที่2014-10-27</ref><ref>กฤษณาชุติมา. (2531). ที่ระลึกในพิธีเปิดอาคารสมาคมนิสิตเก่ามหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ในพระบรมราชูปถัมภ์3 สิงหาคม2531. [http://kukr2.lib.ku.ac.th/kukr_es/kukr/search_detail/dowload_digital_file/23322/17115 ทูลกระหม่อมในมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์]. (น. 198 หน้า). กรุงเทพฯ: สมาคมนิสิตเก่ามหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ในพระบรมราชูปถัมภ์.</ref><ref>กฤษณาชุติมา. (2536). [http://kukr2.lib.ku.ac.th/kukr_es/kukr/search_detail/dowload_digital_file/27178/17114 สี่ปีในมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์]. วารสารไทย, 13(51), 13-17.</ref><ref>ศิลป์พิมลวัฒนา, วรุตม์ไฉไลพันธุ์, นันท์นภัสพลเศรษฐเลิศ, โยธินโชติจันทราภรณ์, สมศักดิ์จันทวิชชประภา, ปกรสิณศุภสินเจริญ, อรปวีณ์วงศ์วชิรา, สิทธิพงษ์ติยะวรากุล, เบญจรัตน์วงษ์วิลัยและเทียนทิพย์ฉัตรชัยดำรง. (2562). [https://ku.ac.th/kunews/news62/11/HappyToBeKUPROVE2019.pdf หนังสือเผยแพร่งานพระราชทานปริญญาบัตรมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์พ.ศ. 2562]. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.</ref><ref>โรงเรียนวิทยาศาสตร์จุฬาภรณราชวิทยาลัย นครศรีธรรมราช [http://www.pccnst.ac.th/pcshsnst/princess-chulabhorn/ เจ้าฟ้านักวิทยาศาสตร์-ประวัติการศึกษา] {{Webarchive|url=https://web.archive.org/web/20200226053416/http://www.pccnst.ac.th/pcshsnst/princess-chulabhorn/ |date=2020-02-26 }} เรียกดูวันที่2019-12-27</ref>
 
* [[พูนภิรมย์ ลิปตพัลลภ|พลโทหญิงพูนภิรมย์ ลิปตพัลลภ]] (KU 33) อดีตรัฐมนตรีว่าการ[[กระทรวงพลังงาน]]<ref>เกษตรศาสตร์ปราดเปรื่อง. [https://www.ku.ac.th/honour/images/pdf/brochure6.pdf เกษตรศาสตร์ปราดเปรื่องรุ่นที่6] เรียกดูวันที่2020-01-14</ref>