ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การนวดหัวใจผายปอดกู้ชีพ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Pilarbini (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนการก่อกวน 3 ครั้งของ 202.28.41.71 (พูดคุย) ไปยังรุ่นโดย MuanN.ด้วย[[WP:iScript|ส...
ป้ายระบุ: ทำกลับ
InternetArchiveBot (คุย | ส่วนร่วม)
Rescuing 4 sources and tagging 0 as dead.) #IABot (v2.0.8
บรรทัด 9:
OtherCodes = |
}}
'''การนวดหัวใจผายปอดกู้ชีพ'''<ref name=royin>[http://rirs3.royin.go.th/coinages/webcoinage.php ศัพท์บัญญัติราชบัณฑิตยสถาน] {{Webarchive|url=https://web.archive.org/web/20170715173151/http://rirs3.royin.go.th/coinages/webcoinage.php |date=2017-07-15 }}. เรียกข้อมูลวันที่ 27 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2552.</ref> ({{Lang-en|Cardiopulmonary resuscitation}}) หรือ '''ซีพีอาร์''' เป็นหัตถการฉุกเฉินทางการแพทย์สำหรับผู้ที่[[หัวใจหยุดเต้น]] หรือ[[หยุดหายใจ]]ในบางกรณี<ref name=medline> {{cite web|url=http://www.nlm.nih.gov/medlineplus/ency/article/000010.htm|title=US National Library of Medicine Encyclopedia - Definition of CPR|accessdate=2007-06-12}} {{en icon}}</ref> อาจทำโดย[[บุคลากรทางการแพทย์]] [[ผู้เชี่ยวชาญด้านการดูแลผู้ป่วยฉุกเฉิน]] หรือโดยคนทั่วไปที่ได้รับการฝึกก็ได้<ref> {{cite web|url=http://www.redcross.org/services/hss/courses/|title=US Red Cross list of courses for all skill levels|accessdate=2007-06-12}} {{en}}</ref>
 
ตลอด 50 ปีที่ผ่านมา การนวดหัวใจผายปอดกู้ชีพนั้นประกอบด้วยการจำลอง[[การไหลเวียนโลหิต]] (เช่น การนวดหัวใจ) และการจำลอง[[การหายใจ]] (เช่น การผายปอด) <ref name=medline/><ref> {{cite web|url=http://www.resus.org.uk/pages/compCPRs.htm|title=Resuscitation Council UK Comment on Compression Only CPR|accessdate=2007-06-12}} {{en}}</ref> อย่างไรก็ดี ในเดือนมีนาคม พ.ศ. 2551 สมาคมโรคหัวใจแห่งสหรัฐอเมริกา (American Heart Association) และสภาการกู้ชีพยุโรป (European Resuscitation Council) เสนอให้เห็นถึงผลดีของการนวดหัวใจเพียงอย่างเดียวโดยไม่ต้องผายปอดสำหรับผู้ป่วยหัวใจหยุดเต้นผู้ใหญ่<ref name=Circstatement> {{cite web|url=http://circ.ahajournals.org/cgi/content/abstract/CIRCULATIONAHA.107.189380v1|title=Hands-Only (Compression-Only) Cardiopulmonary Resuscitation: A Call to Action for Bystander Response to Adults Who Experience Out-of-Hospital Sudden Cardiac Arrest.|accessdate=2008-04-02}} {{en icon}}</ref><ref> {{cite web|url=http://www.erc.edu/index.php/docLibrary/en/viewDoc/775/3/|title=Advisory statement of the European Resuscitation Council: Advisory statement of the European Resuscitation Council on Basic Life Support.|accessdate=2008-06-13|archive-date=2016-04-13|archive-url=https://web.archive.org/web/20160413134728/http://www.erc.edu/index.php/docLibrary/en/viewDoc/775/3/|url-status=dead}} {{en}}</ref> ส่วนการนวดหัวใจผายปอดกู้ชีพนั้นยังคงทำอยู่เป็นส่วนหนึ่งของการกู้ชีวิตระดับสูงจนกว่าหัวใจของผู้ป่วยจะกลับมาเต้นตามปกติ หรือเสียชีวิต
 
หลักการของการนวดหัวใจผายปอดกู้ชีพไม่ใช่การทำให้หัวใจเต้นขึ้นใหม่ แต่เป็นเพื่อรักษาให้มีการไหลเวียนของเลือดนำ[[ออกซิเจน]]ไปเลี้ยง[[สมอง]]และ[[หัวใจ]] เป็นการชะลอการตายของเนื้อเยื่อและเพิ่มโอกาสที่ผู้ป่วยจะฟื้นกลับขึ้นมาโดยไม่มีความเสียหายถาวรเกิดขึ้นกับสมอง ปกติแล้วการกระตุ้นให้หัวใจเต้นขึ้นใหม่จะต้องใช้การกู้ชีพขั้นสูง เช่น [[การช็อตไฟฟ้าหัวใจ]]
 
== ข้อบ่งชี้ ==
ข้อบ่งชี้ของการเริ่มการนวดหัวใจผายปอดกู้ชีพนั้นใช้สำหรับบุคคลที่ไม่ตอบสนอง (unresponsive) และไม่หายใจหรือ[[หายใจเฮือก]] มีโอกาสมากที่จะอยู่ในภาวะ[[หัวใจหยุด]]<ref name=CircEx10/>{{rp|S643}} ถ้ายังมีชีพจรอยู่แต่ไม่หายใจ (ภาวะหายใจหยุด) ควรเริ่มการช่วยหายใจมากกว่า อย่างไรก็ดีผู้ช่วยชีวิตหลายคนอาจไม่มีความเชี่ยวชาญในการจับชีพจร คำแนะนำใหม่จึงกำหนดให้ผู้ช่วยชีวิตที่เป็นคนทั่วไปไม่ต้องพยายามจับชีพจร และให้เริ่มการช่วยชีวิตไปเลย ส่วนผู้ช่วยชีวิตที่เป็นบุคลากรทางการแพทย์สามารถพิจารณาจับชีพจรก่อนเริ่มการช่วยชีวิตได้ตามเห็นสมควร<ref>European Resuscitation Council (2005), "Guidelines for resuscitation", Part 2, "Adult basic life support": "The following is a summary of the evidence-based recommendations for the performance of basic life support: Rescuers begin CPR if the victim is unconscious, not moving, and not breathing (ignoring occasional gasps).[...]"", available at https://www.erc.edu/index.php/guidelines_download_2005/en/ {{Webarchive|url=https://web.archive.org/web/20100530094242/https://www.erc.edu/index.php/guidelines_download_2005/en/ |date=2010-05-30 }}</ref>
 
== วิธีการ ==
บรรทัด 22:
 
=== แบบมาตรฐาน ===
อัตราส่วนการกดหน้าอกต่อการช่วยหายใจที่แนะนำคือ 30:2<ref name=AHAHighlights>{{cite web |url=http://www.heart.org/idc/groups/heart-public/@wcm/@ecc/documents/downloadable/ucm_317350.pdf |title=Highlights of the 2010 American Heart Association Guidelines for CPR and ECC |format=pdf |work=American Heart Association |accessdate=}}</ref>{{rp|8}} ส่วนในเด็กหากมีผู้ช่วยเหลือตั้งแต่ 2 คนขึ้นไปแนะนำให้ใช้อัตราส่วน 15:2<ref name=AHAHighlights/>{{rp|8}} ในทารกแรกเกิดใช้อัตราส่วน 3:1 เว้นแต่รู้อยู่ก่อนว่าเป็นภาวะหัวใจหยุดที่มีสาเหตุมาจากหัวใจโดยตรง (cardiac cause) ให้ใช้อัตราส่วน 15:2 ได้<ref name=CircEx10/>{{rp|S647}} หากได้เริ่มการช่วยหายใจขั้นสูงแล้ว (เช่น [[การใส่ท่อช่วยหายใจ|ใส่ท่อช่วยหายใจทางหลอดลม]] หรือ[[laryngeal mask airway|หน้ากากปิดกล่องเสียง]]) ให้ดำเนินการช่วยหายใจและกดหน้าอกไปได้อย่างต่อเนื่องโดยไม่ต้องนับเป็นจังหวะอัตราส่วน โดยให้ช่วยหายใจด้วยอัตรา 8-10 ครั้งต่อนาที<ref>{{cite journal |author=Berg RA, Hemphill R, Abella BS, ''et al.'' |title=Part 5: adult basic life support: 2010 American Heart Association Guidelines for Cardiopulmonary Resuscitation and Emergency Cardiovascular Care |journal=Circulation |volume=122 |issue=18 Suppl 3 |pages=S685–705 |year=2010 |month=November |pmid=20956221 |doi=10.1161/CIRCULATIONAHA.110.970939 |url=}}</ref> ลำดับของการช่วยเหลือที่แนะนำคือให้เริ่มจากการกดหน้าอก ('''C'''hest compression) ช่วยทางเดินหายใจ ('''A'''irway) และตามด้วยการช่วยหายใจ ('''B'''reathing) คือลำดับ CAB เว้นแต่มีข้อบ่งชี้อื่น<ref name=CircEx10/>{{rp|S642}} โดยกดหน้าอกเร็วอย่างน้อย 100 ครั้งต่อนาที<ref name=AHAHighlights/>{{rp|8}} ความลึกของการกดหน้าอกสำหรับผู้ใหญ่และเด็กคือประมาณ 5 เซนติเมตร (2 นิ้ว) และในทารกคือประมาณ 4 เซนติเมตร (1.5 นิ้ว)<ref name=AHAHighlights/>{{rp|8}} ใน ค.ศ. 2010 Resuscitation council ของอังกฤษยังแนะนำให้ใช้ลำดับการช่วยเหลือ ABC ในการช่วยกู้ชีพเด็ก<ref>{{cite web|url=http://www.resus.org.uk/pages/pals.pdf|title=Resuscitation Council UK Paediatric Advanced Life Support Guidelines|accessdate=2010-10-24|format=PDF|archive-date=2011-05-27|archive-url=https://web.archive.org/web/20110527145122/http://www.resus.org.uk/pages/pals.pdf|url-status=dead}}</ref> เนื่องจากการจับชีพจรอาจเป็นเรื่องยากสำหรับผู้ช่วยเหลือที่เป็นคนทั่วไปจึงได้ตัดขั้นตอนนี้ออก แม้จะเป็นบุคลากรทางการแพทย์ก็ไม่แนะนำให้เสียเวลากับการพยายามจับชีพจรนานเกิน 10 วินาที<ref name=AHAHighlights/>{{rp|8}} ในการกดหน้าอกผู้ใหญ่ให้ใช้สองมือ ในเด็กใช้มือเดียว และในทารกใช้สองนิ้ว<ref>{{cite book|coauthors=Mohun, Janet et al.|title=First Aid Manual|publisher=St John Ambulance, St Andrews Ambulance and British Red Cross}}</ref>
 
=== แบบกดหน้าอกอย่างเดียว ===