ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ธนาคารทหารไทยธนชาต"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Mda (คุย | ส่วนร่วม)
ถ้าจะรวมบทความแบงค์ใหม่กับบทความเก่า ควรเขียนประวัติให้ดีกว่านี้
Mygeneyati (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขด้วยแอปสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขด้วยแอปสำหรับไอโอเอส
บรรทัด 17:
}}
 
'''ธนาคารทหารไทยธนชาต จำกัด (มหาชน)''' ({{lang-en|TMBThanachart Bank Public Company Limited}}; ชื่อย่อ: TTB) หรือชื่อทางการค้า '''ทีเอ็มบีธนชาต (ttbทีทีบี)'''<ref>[http://www.set.or.th/set/factsheet.do?symbol=TMB&language=en&country=US สรุปข้อสนเทศบริษัทจดทะเบียน]ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย</ref> เป็น[[ธนาคาร]]ของ[[ประเทศไทย]] ก่อตั้งโดยจอมพล [[สฤษดิ์ ธนะรัชต์]] อดีต[[นายกรัฐมนตรีไทย|นายกรัฐมนตรีของไทย]] เดิมชื่อ '''ธนาคารทหารไทย จำกัด (มหาชน)''' ({{lang-en|Thai Military Bank Public Company Limited}}; ชื่อย่อ: TMB) ก่อตั้งเมื่อวันที่ 8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2500 มีทุนจดทะเบียนเริ่มแรก 10 ล้านบาท สำนักงานใหญ่แห่งแรกตั้งอยู่ที่อาคาร 2 [[ถนนราชดำเนิน]] [[จังหวัดพระนคร]] ([[กรุงเทพมหานคร]]ในปัจจุบัน) มีพนักงานเริ่มแรก 26 คน ต่อมาธนาคารฯได้จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และแปรสภาพเป็นบริษัทมหาชนจำกัด เมื่อวันที่ 3 มกราคม พ.ศ. 2537
 
ในวันที่ 1 กันยายน พ.ศ. 2547 ธนาคารได้เข้าซื้อกิจการ[[ธนาคารดีบีเอสไทยทนุ]] และ[[บรรษัทเงินทุนอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย]] ทำให้มีสินทรัพย์รวมเป็นอันดับ 5 ของธนาคารพาณิชย์ในประเทศไทย และในปี พ.ศ. 2556 ธนาคารได้เปิดตัว "มี บาย ทีเอ็มบี" (ปัจจุบันใช้ชื่อว่า ''ทีทีบี มี'') บริการธุรกรรมด้วยตนเอง (Self-Service Banking) ที่ไม่มีสมุดคู่ฝากบัญชี เป็นแห่งแรกของไทย
บรรทัด 23:
ธนาคารทหารไทยให้บริการแก่ลูกค้าทั่วไปทั้งลูกค้าบุคคลและลูกค้าธุรกิจ และนับได้ว่าเป็นธนาคารในประเทศไทยเพียงธนาคารเดียวที่ลูกค้าสามารถใช้บริการถอนเงิน ฝากเงิน และ โอนเงิน ในระหว่างบัญชีของธนาคารทหารไทยด้วยกันทั่วประเทศ โดยไม่ต้องเสียค่าธรรมเนียมในการทำธุรกรรมข้ามเขต ไม่ว่าจะผ่านช่องทางบริการสาขา เอทีเอ็ม เครื่องฝากเงินอัตโนมัติ อินเทอร์เน็ตแบงกิ้ง โมบายล์แบงกิ้ง และ โฟนแบงกิ้ง
 
กระทั่งวันที่ 26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2562 ธนาคารทหารไทยได้ลงนามใน[[บันทึกความเข้าใจ]][[การควบรวมและเข้าซื้อกิจการ|เข้าซื้อกิจการ]][[ธนาคารธนชาต]] และได้มีวาระในการขอเปลี่ยนชื่อธนาคารเป็น '''ธนาคารทหารไทยธนชาต จำกัด (มหาชน)''' เพื่อให้สอดคล้องกับแผนการเข้าซื้อกิจการ<ref>[https://media.tmbbank.com/uploads/ir_news_setnews/file/media/3898_file_th.pdf การกำหนดวันและวาระการประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจำปี 2564 - วาระที่ 8 การขอเปลี่ยนชื่อธนาคาร]</ref> โดยใช้ชื่อทางการตลาดว่า ''ทีเอ็มบีธนชาต'' หรือ ''ทีทีบี'' และมีสโลแกนว่า ''เปลี่ยน…เพื่อให้ชีวิตคุณดีขึ้น (Make REAL Change)''
 
วันที่ 24 มีนาคม พ.ศ. 2564 ที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้นมีมติอนุมัติการเปลี่ยนชื่อของธนาคารทหารไทย<ref>{{Cite web|date=2021-04-23|title=ผู้ถือหุ้นทหารไทย ไฟเขียวชื่อใหม่แบงก์ เป็น TTB ‘ทีเอ็มบีธนชาต’|url=https://www.bangkokbiznews.com/news/detail/934180|url-status=live|access-date=2021-05-07|website=[[กรุงเทพธุรกิจ]]}}</ref> ต่อมาเมื่อวันที่ 7 พฤษภาคม ได้เปิดตัวโลโก้ใหม่และแจ้งต่อ[[ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย]] รวมถึงกรมพัฒนาธุรกิจการค้า [[กระทรวงพาณิชย์ (ประเทศไทย)|กระทรวงพาณิชย์]] เปลี่ยนชื่อธนาคารเป็น '''ธนาคารทหารไทยธนชาต จำกัด (มหาชน)'''<ref>{{Cite web|date=2021-05-07|title=ทีเอ็มบี ธนชาต เปลี่ยนโลโก้ใหม่แล้ว วันนี้ (7 พ.ค.)|url=https://www.prachachat.net/finance/news-663887|url-status=live|access-date=2021-05-07|website=[[ประชาชาติธุรกิจ]]}}</ref> จากนั้นมีการปิดปรับปรุงระบบธนาคารทั้งหมดทั่วประเทศ เพื่อเชื่อมต่อระบบเข้าด้วยกันให้สมบูรณ์ ในช่วงระหว่างวันที่ 2 - 4 กรกฎาคม<ref>{{Cite web|date=2021-06-26|title=‘ทีเอ็มบีธนชาต’ จ่อปิดบริการชั่วคราว 2-5 ก.ค.นี้ เชื่อมโยงระบบรองรับควบรวมกิจการ|url=https://workpointtoday.com/ttb-tmb-thanachart/|url-status=live|access-date=2021-07-05|website=workpointTODAY|language=th}}</ref> และกลับมาเปิดให้บริการระบบใหม่ของธนาคารในวันที่ 5 กรกฎาคม เป็นอันเสร็จสิ้นกระบวนการเข้าซื้อกิจการ<ref>{{Cite web|date=2021-07-05|title=ยินดีต้อนรับสู่ ทีเอ็มบีธนชาต (ทีทีบี)|url=https://www.facebook.com/ttbbankofficial/photos/a.440598322750326/2493422737467864/|url-status=live|access-date=2021-07-05|website=[[เฟซบุ๊ก]]}}</ref> ปัจจุบัน (6 ตุลาคม พ.ศ. 2563) [[เอกนิติ นิติทัณฑ์ประภาศ]] เป็นประธานกรรมการ [[ศุภเดช พูนพิพัฒน์]] เป็นรองประธานกรรมการ