ผลต่างระหว่างรุ่นของ "กระเพาะอาหารและลำไส้อักเสบ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
MuanN (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
MuanN (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 29:
 
ข้อมูล ค.ศ. 2015 พบว่าทั่วโลกมีผู้ป่วยกระเพาะอาหารและลำไส้อักเสบราว 2 พันล้านคน เสียชีวิตประมาณ 1.3 ล้านคน<ref name="GBD2015Pre">{{cite journal|last1=GBD 2015 Disease and Injury Incidence and Prevalence|first1=Collaborators.|title=Global, regional, and national incidence, prevalence, and years lived with disability for 310 diseases and injuries, 1990–2015: a systematic analysis for the Global Burden of Disease Study 2015.|journal=Lancet|date=8 October 2016|volume=388|issue=10053|pages=1545–1602|pmid=27733282|doi=10.1016/S0140-6736(16)31678-6|pmc=5055577}}</ref><ref name="GBD2015De">{{cite journal|last1=GBD 2015 Mortality and Causes of Death|first1=Collaborators.|title=Global, regional, and national life expectancy, all-cause mortality, and cause-specific mortality for 249 causes of death, 1980–2015: a systematic analysis for the Global Burden of Disease Study 2015.|journal=Lancet|date=8 October 2016|volume=388|issue=10053|pages=1459–1544|pmid=27733281|doi=10.1016/s0140-6736(16)31012-1|pmc=5388903}}</ref> กลุ่มประชากรที่ได้รับผลกระทบมากที่สุดคือเด็กและคนที่อาศัยอยู่ใน[[ประเทศกำลังพัฒนา]]<ref name="Web09">{{cite book|last=Webber|first=Roger|title=Communicable disease epidemiology and control : a global perspective|year=2009|publisher=Cabi|location=Wallingford, Oxfordshire|isbn=978-1-84593-504-7|page=79|url=https://books.google.com/books?id=pZ9fpHtvOGYC&pg=PA79|edition=3rd|url-status=live|archive-url=https://web.archive.org/web/20151026161644/https://books.google.com/books?id=pZ9fpHtvOGYC&pg=PA79|archive-date=2015-10-26}}</ref> โดยข้อมูล ค.ศ. 2011 มีเด็กอายุน้อยกว่า 5 ปี ป่วยจากภาวะนี้ราว 1.7 พันล้านคน และเสียชีวิตประมาณ 7 แสนคน<ref name="Walk2013">{{cite journal|last=Walker|first=CL|author2=Rudan, I |author3=Liu, L |author4=Nair, H |author5=Theodoratou, E |author6=Bhutta, ZA |author7=O'Brien, KL |author8=Campbell, H |author9= Black, RE |title=Global burden of childhood pneumonia and diarrhoea.|journal=Lancet|date=Apr 20, 2013|volume=381|issue=9875|pages=1405–16|pmid=23582727|doi=10.1016/S0140-6736(13)60222-6|pmc=7159282}}</ref> เด็กอายุไม่เกิน 2 ปีใน[[ประเทศพัฒนาแล้ว]]จะป่วยจากภาวะนี้ประมาณปีละ 6 ครั้ง หรือมากกว่า<ref name="M93">{{cite book |chapter=Chapter 93 |editor1-last=Dolin |editor1-first=Raphael |editor2-last=Mandell |editor2-first=Gerald L. |editor3-last=Bennett |editor3-first=John E. |year=2010 |title=Mandell, Douglas, and Bennett's principles and practice of infectious diseases|publisher=Churchill Livingstone/Elsevier|location=Philadelphia|isbn=978-0-443-06839-3|edition=7th}}</ref> ในผู้ใหญ่จะพบภาวะนี้ได้น้อยลง ส่วนหนึ่งเพราะภูมิคุ้มกันพัฒนาแล้ว<ref name="Eck2011">{{cite journal |vauthors=Eckardt AJ, Baumgart DC |title=Viral gastroenteritis in adults |journal=Recent Patents on Anti-Infective Drug Discovery |volume=6 |issue=1 |pages=54–63 |date=January 2011 |pmid=21210762 |doi=10.2174/157489111794407877}}</ref> ชื่อภาษาอังกฤษของภาวะนี้ชื่อหนึ่งคือ stomach flu ("ไข้หวัดใหญ่ที่กระเพาะอาหาร") ซึ่งเป็นการเรียกชื่อที่ไม่ตรงกับสาเหตุของโรค ภาวะนี้ไม่มีความเกี่ยวข้องกับโรค[[ไข้หวัดใหญ่]]แต่อย่างใด<ref>{{cite book|last1=Shors|first1=Teri|title=The microbial challenge : a public health perspective|date=2013|publisher=Jones & Bartlett Learning|location=Burlington, MA|isbn=978-1-4496-7333-8|page=457|edition=3rd|url=https://books.google.com/books?id=TDcvAqyx7AIC&pg=PA457|url-status=live|archive-url=https://web.archive.org/web/20170908184604/https://books.google.com/books?id=TDcvAqyx7AIC&pg=PA457|archive-date=2017-09-08}}</ref>
 
==อาการและอาการแสดง==
ผู้ป่วยกระเพาะอาหารและลำไส้อักเสบส่วนใหญ่จะทั้งอาการอาเจียนและถ่ายเหลว แต่อาจมีเพียงอย่างใดอย่างหนึ่งก็ได้ อาจปวดท้องร่วมด้วยได้ ส่วนใหญ่จะเริ่มมีอาการหลังได้รับเชื้อมาเป็นเวลา 12-72 ชั่วโมง หากเป็นจากการติดเชื้อไวรัสจะหายได้เองในเวลาประมาณ 1 สัปดาห์ อาการอื่นที่อาจพบได้ในผู้ป่วยที่ติดเชื้อไวรัสเช่น มีไข้ อ่อนเพลีย ปวดศีรษะ ปวดกล้ามเนื้อ เป็นต้น หากอุจจาระมีเลือดปนอาจเป็นจากการติดเชื้อแบคทีเรียมากกว่าจะเป็นจากไวรัส การติดเชื้อแบคทีเรียบางชนิดอาจทำให้มีอาการปวดท้องต่อเนื่องได้หลายสัปดาห์
 
เด็กที่ป่วยจากการติดเชื้อไวรัสโรต้ามักหายได้เองภายใน 3-8 วัน อย่างไรก็ดีเด็กในประเทศยากจนอาจมีความยากลำบากในการเข้าถึงการรักษาสำหรับกรณีที่เป็นรุนแรง ซึ่งอาจทำให้มีภาวะถ่ายเหลวเรื้อรังตามมาได้ ภาวะแทรกซ้อนที่พบได้บ่อยคือการขาดน้ำ หากผู้ป่วยเด็กขาดน้ำรุนแรงอาจทำให้มีผิวหนังแข็งจับตั้งแล้วคืนตัวได้ช้า เรียกว่าภาวะสูญเสียความยืดหยุ่นของผิวหนัง (poor skin turgor) และอาจมีเลือดไหลกลับคืนหลอดเลือดฝอยช้าลง (prolonged capillary refill) ได้ด้วย รายที่ขาดน้ำรุนแรงมากอาจมีอาการหายใจลำบากเพิ่มได้อีก ในพื้นที่ที่สุขลักษณะไม่ดีและขาดแคลนสารอาหารอาจทำให้มีผู้ป่วยติดเชื้อซ้ำได้บ่อย ซึ่งทำให้เกิดภาวะไม่เจริญเติบโตและสติปัญญาบกพร่องตามมาได้
 
==อ้างอิง==